สารคดี สัญญาณประหลาดจากต่างดาว | การ ขนส่ง การ โคจร ของ ดาวเทียม

สารคดี สัญญาณประหลาดจากต่างดาว


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สารคดี สัญญาณประหลาดจากต่างดาว

สารคดี สัญญาณประหลาดจากต่างดาว

มหาสมุทรบนดาวอังคารหายไปไหนกันแน่ ?


นับตั้งแต่มนุษย์เริ่มส่งยานไปสำรวจดาวอังคารในทศวรรษที่ 1960 จนถึงปัจจุบัน เราต่างมีหลักฐานมากมายว่าครั้งหนึ่งในอดีต ดาวอังคารเคยมีมหาสมุทรกว้างใหญ่เฉกเช่นเดียวกับโลก ไม่ว่าจะเป็นร่องรอยของแม่น้ำลำธารที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจนบนอวกาศ หรือแม้แต่ความชุมชื้นที่ยังคงเหลืออยู่ในดินของดาวอังคาร
นักดาราศาสตร์จึงสามารถสรุปได้ว่าดาวอังคารได้ถูกเติมเต็มไปด้วยน้ำเมื่อประมาณ 4,000 ล้าน ถึง 3,600 ล้านปีก่อน ก่อนที่จะเหือดหายไปแล้วทิ้งให้ดาวอังคารกลายเป็นดาวเคราะห์สีแดงฉานอย่างในปัจจุบัน ซึ่งในช่วงเวลาที่ดาวอังคารมีน้ำนั้นเป็นระยะเวลาที่สั้นเกินกว่าที่สิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการขึ้นจนมีความซับซ้อนเทียบเท่ากับมนุษย์ แต่ก็อาจจะเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวรูปแบบง่าย ๆ ถือกำเนิดขึ้นมา ซึ่งเป็นสิ่งที่นาซ่าพยายามค้นหามาโดยตลอด
ศึกษาเรื่องราวของดาวอังคารผ่านบทความของ spaceth เพิ่มเติมได้ที่
https://spaceth.co/category/exploration/marsexploration/
สรุปเราจะค้นพบน้ำเหลว ๆ บนดาวอังคารได้จริง ๆ ซะทีหรือยัง
https://spaceth.co/whenwewilldiscoverliquidonmars/
มหาสมุทรที่เคยอยู่บนดาวอังคารหายไปไหน
https://spaceth.co/ancientwateronmars/
ภาพวาดสีเทียน สัญญาณภาพแรกจากดาวอังคาร
https://spaceth.co/marsfirstimagepastel/
ดวงจันทร์ Phobos ของดาวอังคารอาจจะเก็บความลับการหายไปของชั้นบรรยากาศดาวอังคารไว้อยู่
https://spaceth.co/phobosandmarsparticles/
MASHA แบบบ้านจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ บนดาวอังคาร ที่ได้รางวัลจาก NASA
https://spaceth.co/masha3dprintedhouse/
Website https://spaceth.co/
Blockdit https://blockdit.com/spaceth
YouTube https://www.youtube.com/spacethco
Facebook https://facebook.com/spaceth
Twitter https://twitter.com/spacethnews
IG https://instagram.com/spaceth.co
0:00 Intro
1:00 ประวัติฯการสำรวจดาวอังคาร
2:41 โครงการมาริเนอร์และไวกิ้ง
3:59 น้ำในอวกาศ
4:59 สถานะของน้ำ
6:02 มหาสมุทรบนดาวอังคาร
7:44 การสูญเสียชั้นบรรยากาศ
9:07 ลมสุริยะ
11:12 อดีตแสนหอมหวาน
12:44 ชะตากรรมของดาวอังคาร
13:38 ความหวังครั้งใหม่
Say Sake Sail Seat Spaceth
ดาวอังคาร น้ำบนดาวอังคาร มหาสมุทรบนดาวอังคาร ระบบสุริยะ อวกาศ นาซ่า จักรวาล เอกภพ ดาราศาสตร์ นอกโลก วิทยาศาสตร์ โรเวอร์ NASA

มหาสมุทรบนดาวอังคารหายไปไหนกันแน่ ?

ทำไมอวกาศถึงแออัด


วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นชิ้นแรกที่ได้โคจรรอบโลกคือ สปุตนิก วัน ซึ่งถูกส่งขึ้นไปในวันที่ 4 ตุลาคม ปี 1957 หลายทศวรรษผ่านไป พวกเราได้ปล่อยดาวเทียมเพิ่มขึ้นอีกหลายพันดวง โลกสมัยใหม่คงจะล่มสลายแน่ๆ หากไม่มีพวกมัน แต่ปัจจุบันมันมีเยอะมาก จนเราอาจจะไม่มีพื้นที่ว่างในอวกาศแล้วจริงๆ ก็ได้
กลายเป็นว่ามีสถานที่มากมาย ที่คุณสามารถเอาดาวเทียมไปปล่อย และทำให้มันอยู่ในที่ที่คุณต้องการไปเรื่อยๆ หากดาวเทียมอยู่ต่ำเกินไป มันจะตกลงมาจากท้องฟ้า แต่หากสูงเกินไป มันก็จะค่อยๆ หลุดไปในอวกาศ และด้วยดาวเทียมมากมายในวงโคจร การป้องกันไม่ให้พวกมันชนกัน เป็นงานที่จะต้องทำตลอดเวลา และเป็นหน้าที่ที่ทำยากขึ้นในทุกๆ ปี
TIMESTAMPS:
ดาวเทียมสามารถหลุดออกจากวงโคจรได้อย่างสิ้นเชิงหรือไม่? 1:25
ดาวเทียมชนกันเหนือไซบีเรีย 💥 1:52
ดาวเทียมที่พังหรือถูกทิ้ง 2:41
ปรากฏการณ์ที่เลวร้ายที่สุด 👈 3:44
จะเกิดอะไรขึ้นหากดาวเทียมที่เรามีทั้งหมดพัง? 5:02
วิธีการกำจัดดาวเทียม 6:37
เลเซอร์บรูม 7:24
อวกาศ ดาวเทียม ชีวิตสดใส
เครดิตภาพพรีวิว:
A Beehive of Satellites: By European Space Agency, https://www.nasa.gov/multimedia/imagegallery/image_feature_1283.html
อนิเมชั่นโดยชีวิตสดใส
สรุป:
ดาวเทียมระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก หรือ GPS และดาวเทียมอื่นๆ ที่ต้องโคจรอยู่บนพื้นที่เจาะจงของพื้นผิวโลก และจะต้องส่งไปอยู่ในความสูงที่กำหนด
ยิ่งดาวเทียมอยู่ไกลจากวงโคจรคงที่เท่าไร ก็ยิ่งต้องใช้ความพยายามในการทำให้มันอยู่ตรงนั้นมากขึ้น
ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ดาวเทียมรัสเซียที่ถูกทอดทิ้งนี้ มีชื่อว่า คอสมอส 2251 ชนเข้ากับด้านข้างของดาวเทียมอเมริกาอย่างแรง ในขณะที่พวกมันกำลังผ่านทางเหนือของไซบีเรีย โดยยานอวกาศทั้งคู่แตกออกเป็นเสี่ยงๆ และทำให้กลุ่มเศษขยะต่างๆ พุ่งไปในอวกาศด้วยความเร็วอันเหลือเชื่อ
ดาวเทียมที่พังหรือโดนทิ้งร้างเช่น คอสมอส 2251 เป็นอันตรายอย่างมาก ต่อดาวเทียมที่ยังใช้การอยู่
ขยะอวกาศชิ้นเล็กๆ ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 เซนติเมตร ก็เพียงพอที่จะฉีกดาวเทียมส่วนใหญ่ได้แล้ว
เดือนพฤษภาคมปี 2019 มีวัตถุที่มีขนาดเท่าที่กล่าวไป หรือใหญ่กว่าประมาณ 23,000 ชิ้น
ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดคือ สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่าปฏิกิริยาเคสส์เลอร์ คิดขึ้นมาในปี 1987 โดย โดนัลด์ เจ เคสส์เลอร์ นักวิทยาศาสตร์ของนาซ่า ซึ่งนี่เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ที่เกิดขึ้นในอวกาศ
บทหนังหรือนิยายชอบนำเสนอปฏิกิริยาเคสส์เลอร์ ในเชิงที่เกือบเหมือนวันโลกาวินาศ
ในตอนนี้ มีวัตถุบางอย่างที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์กังวล หนึ่งตัวอย่างที่น่าพูดถึงคือ ดาวเทียมเอนวิแซทขนาดยักษ์ที่ถูกทอดทิ้ง ขององค์การอวกาศยุโรป
อันตรายจากการชนกันของดาวเทียมนั้นเป็นเรื่องจริง และสถานการณ์ก็แย่ลงเรื่อยๆ ตราบใดที่พวกเราส่งวัตถุขึ้นไปบนวงโคจรอยู่ตลอดเวลาแบบนี้
ดาวเทียมสมัยใหม่นั้น โดยปกติแล้วจะไม่ได้รับอนุญาตให้ส่งขึ้นไป จนกว่าจะมีแผนรองรับในการกำจัดมัน
บางครั้งมันจะถูกบังคับให้ออกไปไกลในอวกาศ เพื่อลดความเสี่ยงที่มันจะตกลงมายังโลก หรือชนกับดาวเทียมดวงอื่น
อีกตัวเลือกหนึ่งคือ การลดระดับดาวเทียม ทำให้มันถูกดึงลงมาโดยแรงโน้มถ่วงของโลก
อีกหนึ่งข้อเสนอของการแก้ปัญหา คือการวางตำแหน่งดาวเทียมที่ไม่ต้องการ ไว้ในที่ที่มันจะโดนดึงออกจากวงโคจร โดยดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์

กดติดตามช่องชีวิตสดใส http://bit.do/brightside_thai

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

ทำไมอวกาศถึงแออัด

สารคดี สำรวจดาวเคราะห์น้ำแข็งเอ็นเชียลาดาส


สารคดี สำรวจดาวเคราะห์น้ำแข็งเอ็นเชียลาดาส

สารคดี สำรวจดาวเคราะห์น้ำแข็งเอ็นเชียลาดาส

การเคลื่อนที่ของดาวเทียม (เมืองไทยสมาร์ทบุ๊ก)


การเคลื่อนที่ของดาวเทียม (เมืองไทยสมาร์ทบุ๊ก)

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *