01. แนะนำเครื่องมือและอุปกรณ์ | คลื่นไหวสะเทือน

01. แนะนำเครื่องมือและอุปกรณ์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

แนะนำเครื่องมือและอุปกรณ์ เครื่องสำรวจธรณีฟิสิกส์ชนิดคลื่นไหวสะเทือน (Multichannel Analysis of Surface Waves, MASW)
ยี่ห้อ ABEM รุ่น Terraloc Pro2
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://asiatest.co.th/
จัดจำหน่ายโดย
บริษัท เอเซีย เทสติ้ง อีควิปเม้นท์ จำกัด 2/37 ซ.ประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 4 ถนน ประเสริฐมนูกิจ แขวง ลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230
Sales : (66)0817002909
Email : [email protected]
Line : @asiatest (มี @ นะคะ ) หรือคลิก 👉 https://lin.ee/1i3NmXKXZ
เครื่องสำรวจธรณีฟิสิกห์ชนิดคลื่นไหวสะเทือน

01. แนะนำเครื่องมือและอุปกรณ์

ถ้าเขื่อนจีนแตกจริง ไทยท่วมที่ไหนบ้าง ประเทศที่โดนท่วมหนัก : เขื่อนสามผา Three Gorges Dam 长江三峡大坝


ถ้าเขื่อนจีนแตกจริง ไทยท่วมที่ไหนบ้าง ประเทศที่โดนท่วมหนัก : เขื่อนสามผา Three Gorges Dam 长江三峡大坝
เขื่อนสามผาจีน เขื่อนจีนแตก ThreeGorgesDam
เขื่อนซานเสียต้าป้า หรือ เขื่อนสามหุบเขา หรือ เขื่อนสามผา (จีนตัวย่อ: 长江三峡大坝; จีนตัวเต็ม: 長江三峽大壩; พินอิน: Chángjiāng Sānxiá Dà Bà; อังกฤษ: Three Gorges Dam) เป็นเขื่อนอเนกประสงค์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (พ.ศ. 2550) ของประเทศจีน ลักษณะของเขื่อนเป็นแบบเขื่อนคอนกรีตถ่วงน้ำหนัก (Concrete gravity dam) กั้นขวางแม่น้ำแยงซี ปัจจุบันเขื่อนซานเสียต้าป้ากำลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง
เขื่อนซานเสียต้าป้า เป็นเขื่อนแรกของจีนที่มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ ชื่อเต็มในภาษาอังกฤษของโครงการก่อสร้างเขื่อนนี้ คือ “Three Gorges multipurpose water control project” มีประวัติการก่อสร้างยาวนาน ตั้งแต่สมัย ดร.ซุน ยัตเซ็น ในปี พ.ศ. 2462 และเริ่มศึกษาโครงการฯ เมื่อปี พ.ศ. 2473 สภาประชาชน ลงมติให้ก่อสร้างได้ในปี พ.ศ. 2535 ในสมัยรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีหลี่เผิง
วัตถุประสงค์ของการก่อสร้างเขื่อน ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหลักและป้องกันน้ำท่วม ซึ่งในขณะที่สร้างเขื่อนนั้น มีผู้อพยพจากน้ำท่วมบริเวณโดยรอบมีถึงประมาณ 1.35 ล้านคน
source : th.wikipedia.org
The Three Gorges Dam is a hydroelectric gravity dam that spans the Yangtze River by the town of Sandouping, in Yiling District, Yichang, Hubei province, central China, downstream of the Three Gorges. The Three Gorges Dam has been the world’s largest power station in terms of installed capacity (22,500 MW) since 2012. In 2018, the dam generated 101.6 terawatthours (TWh), breaking its previous record, but was still slightly lower than the Itaipú Dam, which had set the world record in 2016 after producing 103.1 TWh.
The dam body was completed in 2006. The power plant of the dam project was completed and fully functional as of July 4, 2012,[9][10] when the last of the main water turbines in the underground plant began production. Each main water turbine has a capacity of 700 MW. Coupling the dam’s 32 main turbines with two smaller generators (50 MW each) to power the plant itself, the total electric generating capacity of the dam is 22,500 MW.The last major component of the project, the ship lift, was completed in December 2015.
As well as producing electricity, the dam is intended to increase the Yangtze River’s shipping capacity. By providing flood storage space, the dam reduces the potential for floods downstream which could possibly affect millions. China regards the project as a monumental social and economical success, with the design of stateoftheart large turbines, and a move toward limiting greenhouse gas emissions. However, the dam flooded archaeological and cultural sites, displaced some 1.3 million people, and had caused significant ecological changes including an increased risk of landslides. Because of that the dam has been controversial both domestically and abroad
source : en.wikipedia.org
สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
https://www.youtube.com/channel/UCVvtsxh712XvzupbgXgwlQ/join
ข่าวการเงินอัพเดททุกวันเวลา 14.00 น.
ข่าวต่างประเทศและข่าวน่าสนใจอื่นๆอัพเดททุกวันช่วงเวลา 10.00 น. และ 19.00 น.
รูปภาพและสื่อ PICTURE AND NEWS :
ทำเพื่อการศึกษาและความบันเทิงไม่มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์
Made for education and entertainment no copyright infringement intended

ถ้าเขื่อนจีนแตกจริง ไทยท่วมที่ไหนบ้าง ประเทศที่โดนท่วมหนัก : เขื่อนสามผา Three Gorges Dam 长江三峡大坝

การแบ่งโครงสร้างโลก โดยใช้สมบัติคลื่นไหวสะเทือน โลก ดาราศาสตร์ฯ 3 ครูนกกี้ นิภาธร พุทธรักษา


บรรยายเกี่ยวกับการแบ่งโครงสร้างโลก โดยใช้สมบัติคลื่นไหวสะเทือนเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 5 ชั้น ได้แก่ ธรณีภาค ฐธรณีภาค มีโซสเฟียร์ แก่นโลกชั้นนอก และแก่นโลกชั้นใน

การแบ่งโครงสร้างโลก โดยใช้สมบัติคลื่นไหวสะเทือน โลก ดาราศาสตร์ฯ 3 ครูนกกี้ นิภาธร พุทธรักษา

3.1 แผ่นดินไหว : คลื่นไหวสะเทือน


เล่ม : โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ พื้นฐาน ม.46
บท : ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยา
Playlist : https://www.youtube.com/playlist?list=PLrEFzH81p36iI2PtODpF7XqMxwtbQLra1

3.1 แผ่นดินไหว : คลื่นไหวสะเทือน

คลื่นไหวสะเทือน


คลื่นไหวสะเทือน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *