[NEW] >>>อวกาศ จักรวาล ดาวฤกษ์ ดาวเคราห์ ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต เนบิวลา<<< นิดๆหน่อยๆน้อยๆนิดๆ | เนบิวลาวงแหวน - Australia.xemloibaihat

เนบิวลาวงแหวน: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

>>>อวกาศ จักรวาล ดาวฤกษ์ ดาวเคราห์ ระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต เนบิวลา<<< นิดๆหน่อยๆน้อยๆนิดๆ

อวกาศ

อวกาศหมายถึงพื้นที่ว่างทั้งมวลในเอกภพ โดยที่ทั้งโลก ดาวเคราะห์ กาแลกซี และเทหฟากฟ้าอื่นๆ ก็กำลังเคลื่อนที่อยู่ใน อวกาศ ใน เอกภพ ด้วยเหตุนี้เองไม่ว่าเราจะเริ่มต้นเดินทางออกจากเทหฟากฟ้าใดๆก็ตาม เราจะต้องออกเผชิญกับอวกาศตลอดเวลา แต่ก็จะมีปัญหาเกิดขึ้นว่า “อวกาศเริ่มต้นจากไหน” เช่นถ้าลองมาคิดว่าเมื่อเราจะเดินทางออกจากโลกของเรา เมื่อไรถึงจะเป็นจุดเริ่มต้นของอวกาศเราก็น่าจะลองคิดทบทวนดูตามลำดับดังนี้ ว่าวติดลมอยู๋ในชั้นโทรโพสเฟียร์ บอลลูนก็ขึ้นไปแค่ชั้นโทรโพสเฟียร์ หรือแม้แต่เครื่องบินก็อยู่ในชั้นบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ แต่ส่วนนอกสุดของบรรยากาศเราถือว่าเป็นอวกาศ ดังนั้นเมื่อคิดจากโลกเราจึงพอจะสรุปได้ว่า “อวกาศควรจะเริ่มต้น ณ ที่หนึ่งที่ใดในส่วนของบรรยากาศที่เจือจาง” และเป็นที่ยอมรับกันว่า อวกาศส่วนใกล้ เริ่มต้นจากราวๆ120ไมล์จากผิวโลกซึ่งอยู่ในชั้นไอโอโนสเฟียร์ อวกาศส่วนลึกแผ่ขยายคลุมไปถึงดวงจันทร์ และส่วนที่ต่อจากอวกาศส่วนลึกก็เป็น อวกาศส่วนนอก แต่ในบางครั้งก็จะแยก อวกาศส่วนนอกออกเป็น อวกาศส่วนใน หรือ อวกาศระหว่างดาวเคราะห์     อวกาศส่วนกลาง หรือ อวกาศระหว่างดวงดาว และอวกาศส่วนนอก หรือ อวกาศระหว่างกาแลกซี่ ซึ่งเรามีวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับอวกาศเราเรียกว่า วิทยาศาสตร์อวกาศ

The Universe

                               เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เอาเสียเลย สำหรับมนุษย์ที่จะรู้ขนาดของจักรวาล เราไม่เพียงไม่รู้ว่าจักรวาลใหญ่แค่ไหนหากยังลำบากในการ จินตนาการว่ามันจะใหญ่แค่ไหนอีกด้วย หากเราเริ่มจากโลกของเรา และค่อยๆเคลื่อนออกไป โลกของเราเป็นส่วนเล็กๆของ ระบบสุริยจักรวาลซึ่งประกอบ ไปด้วยดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ที่ โคจรรอบๆดวงอาทิตย์ และดาวดวงเล็กอื่นๆ และระบบสุริยจักรวาลก็เป็นเพียงส่วนเล็กๆส่วนหนึ่งของสิ่งที่เรา เรียกว่า กาแล็กซี่ ซึ่งประกอบไปด้วยดาวหลายล้านดวง และในบรรดาดาวเหล่านี้ มีดาวไม่น้อยที่มีขนาดใหญ่กว่า วงอาทิตย์ของเรา มากนัก และอาจมีระบบสุริยะของมันเอง

                                ดังนั้นดาวทุกดวงที่เรามองเห็นในกาแล็กซี่ของเราซึ่งเรียกว่า ทางช้างเผือกนั้นล้วน เป็นดวงอาทิตย์ ดาวเหล่านี้ อยู่ห่างจากเรามากจนต้องใช้ หน่วยวัดเป็นปีแสงแทนที่จะเป็นไมล์ ใน 1 ปีแสงเดินทางได้ประมาณ 6,000,000,000,000 ไมล์ ดาวที่ส่องแสงสว่าง ที่อยู่ใกล้โลกเรา มากที่สุดคือ Alpha Centauri ซึ่งห่างจากโลกเราประมาณ 25,000,000,000,000 ไมล์ อย่าลืมว่าตอนนี้เรากำลังพูดถึง กาแล็กซี่ของเราเท่านั้นที่ประมาณว่า มีความกว้าง ประมาณ100,000 ปีแสง หรือ 100,000 x 6,000,000,000,000 ไมล์! และกาแล็กซี่ของเราเป็นเพียง ส่วนประกอบเล็กๆของระบบที่ใหญ่กว่าอาจจะมี หลายล้านกาแล็กซี่นอกจากทางช้างเผือก ของเรา และกาแล็กซี่เหล่านี้อาจจะเป็น ส่วนประกอบ เล็กๆของระบบที่ใหญ่ ขึ้นไปกว่า จะเห็นได้ว่าเป็นไปไม่ได้เลย ที่เราจะรู้ขนาดของจักรวาล และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า จักรวาลนั้นกำลังขยายขนาด ขึ้นเรื่อยๆ นั่นหมายความว่า ทุกๆ 2 พันล้านปี กาแล็กซี่ 2 กาแล็กซี่จะมีระยะทางห่างกัน2 เท่า

  ดาวฤกษ์

                           ดาวฤกษ์ก็คือ ดวงอาทิตย์ ดวงหนึ่ง ที่อยู่ห่างไกล โลกของเราออกไปมาก จนมีแสงริบหรี่ ดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้โลกที่สุด(ไม่นับดวงอาทิตย์) คือ ดาว Proxyma Centauri ซึ่งอยู่ห่างโลก เป็นระยะทางไกลมาก และไม่นิยมบอกระยะห่าง จากโลกเราเป็น กิโลเมตร หรือเป็นไมล์ เพราะจะมีตัวเลขมากมาย เกินไป แต่จะใช้หน่วย ปีแสง แทน ดาว Proxyma Centauri นั้นอยู่ห่างจากโลก ประมาณ 4.2 ปีแสง คือ ณ ขณะหนึ่งขณะใดที่เรามองดูดาวดวงนี้ หมายถึงว่า เรากำลังมองดูแสงและเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นบนดาวดวงนี้ เมื่อ 4.2 ปีมาแล้ว    เนื่องจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ ดวงหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ จึงสันนิษฐาน ว่าน่าจะมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารของ ดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งในขณะนี้ กำลังมีการศึกษา ค้นคว้าในเรื่องดังกล่าวกันมาก

                                        ดาวฤกษ์มีพลังงานมหาศาลมากเนื่องจากพลังงานจากดาวฤกษ์นั้นเป็นพลังงานNuclear Fusion ซึ่งจะให้พลังงานออกมามากมาย มหาศาลซึ่งในโลกเรายังไม่มีการใช้พลังงานNuclearชนิดนี้เนื่องจาก ไม่สามารถที่จะควบคุมการปล่อยพลังงานออกมาได้ซึ่งอาจทำให้โลกเรานั้นถูกทำลายได้ ดาวฤกษ์ที่เกิดใหม่ๆนั้นจะมีสี น้ำเงิน ซึ่งจะมีพลังงานและอุณหภูมิสูงมาก ดาวฤกษ์มักมีบริวารเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ อุกกาบาต  ดาวหาง เป็นต้นซึ่งเมื่ออยู่รวมตัว กันกับดาวฤกษ์แล้วเราก็จะ เรียกว่า ระบบสุริยะ SolarSystem อย่างเช่นระบบสุริยะ ที่โลกเราอยู่ อิอิเรื่องดาวฤกษ์นี่หารูปมะล่ายง่า

 ดาวเคราะห์
        เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นวงโคจรที่แน่นอน มีจำนวน 9 ดวง เรียงตามลำดับ จากจุดศูนย์กลาง คือดวงอาทิตย์ ออกไปดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวพลูโต โดย โลก เป็น ดาวเคราะห์ เพียงดวงเดียวเท่านั้น ที่มีสิ่งมีชีวิต อาศัยอยู่ นักวิทยาศาสตร์ สามารถคำนวณหาตำแหน่ง การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ทั้งหมดได้โดยใช้ คณิตศาสตร์ และทฤษฎีทางฟิสิกส์

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)”

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)”

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

                           ดาวฤกษ์ก็คือ ดวงอาทิตย์ ดวงหนึ่ง ที่อยู่ห่างไกล โลกของเราออกไปมาก จนมีแสงริบหรี่ ดาวฤกษ์ดวงที่อยู่ใกล้โลกที่สุด(ไม่นับดวงอาทิตย์) คือ ดาว Proxyma Centauri ซึ่งอยู่ห่างโลก เป็นระยะทางไกลมาก และไม่นิยมบอกระยะห่าง จากโลกเราเป็น กิโลเมตร หรือเป็นไมล์ เพราะจะมีตัวเลขมากมาย เกินไป แต่จะใช้หน่วย ปีแสง แทน ดาว Proxyma Centauri นั้นอยู่ห่างจากโลก ประมาณ 4.2 ปีแสง คือ ณ ขณะหนึ่งขณะใดที่เรามองดูดาวดวงนี้ หมายถึงว่า เรากำลังมองดูแสงและเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นบนดาวดวงนี้ เมื่อ 4.2 ปีมาแล้ว    เนื่องจากดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ ดวงหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ จึงสันนิษฐาน ว่าน่าจะมีดาวเคราะห์ เป็นบริวารของ ดาวฤกษ์ดวงอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งในขณะนี้ กำลังมีการศึกษา ค้นคว้าในเรื่องดังกล่าวกันมาก

                                        ดาวฤกษ์มีพลังงานมหาศาลมากเนื่องจากพลังงานจากดาวฤกษ์นั้นเป็นพลังงานNuclear Fusion ซึ่งจะให้พลังงานออกมามากมาย มหาศาลซึ่งในโลกเรายังไม่มีการใช้พลังงานNuclearชนิดนี้เนื่องจาก ไม่สามารถที่จะควบคุมการปล่อยพลังงานออกมาได้ซึ่งอาจทำให้โลกเรานั้นถูกทำลายได้ ดาวฤกษ์ที่เกิดใหม่ๆนั้นจะมีสี น้ำเงิน ซึ่งจะมีพลังงานและอุณหภูมิสูงมาก ดาวฤกษ์มักมีบริวารเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ อุกกาบาต  ดาวหาง เป็นต้นซึ่งเมื่ออยู่รวมตัว กันกับดาวฤกษ์แล้วเราก็จะ เรียกว่า ระบบสุริยะ SolarSystem อย่างเช่นระบบสุริยะ ที่โลกเราอยู่ อิอิเรื่องดาวฤกษ์นี่หารูปมะล่ายง่า

 ดาวเคราะห์
        เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ และโคจรรอบดวงอาทิตย์ เป็นวงโคจรที่แน่นอน มีจำนวน 9 ดวง เรียงตามลำดับ จากจุดศูนย์กลาง คือดวงอาทิตย์ ออกไปดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และดาวพลูโต โดย โลก เป็น ดาวเคราะห์ เพียงดวงเดียวเท่านั้น ที่มีสิ่งมีชีวิต อาศัยอยู่ นักวิทยาศาสตร์ สามารถคำนวณหาตำแหน่ง การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ ทั้งหมดได้โดยใช้ คณิตศาสตร์ และทฤษฎีทางฟิสิกส์

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)”

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

 
การจำแนกดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์
1.ใช้ตำแหน่งโลกเป็นหลัก ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงใน(Inferior Planets)  ดาวเคราะห์ใดมีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นอกวงโคจรโลก เรียกว่า”ดาวเคราะห์วงนอก(Superior Planets)”

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

2.ใช้ตำแหน่งดาวเคราะห ์น้อยเป็นหลัก โดยแบ่งเป็น 2 พวก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรของดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์ใน(inner planets)”ดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่นอกวงโคจรดาวเคราะห์น้อยเรียกว่า”ดาวเคราะห์นอก(super planets)”
3.ใช้สมบัติทางฟิสิกส์ ดาวเคราะห์ใดมีสมบัติทางฟิสิกส์คล้ายกับโลกเช่น มีขนาดเล็กเรียก Terrestrid Planetsดาวเคราะห์ที่คล้ายดาวเคราะห์ขนาดใหญ่เรียกว่า Jovian Planets
 วิเคราะห์ลักษณะเด่นของดาวเคราะห์บริวารของดวงอาทิตย์

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

-ดาวพุธเล็กที่สุด,ดาวพฤหัสใหญ่ที่สุด
-ดาวพุธ,ดาวศุกร์ 2 ดวงนี้รูปร่างเกือบเป็นวงกลมเหมือนดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
-ดางศุกร์,ดาวเนปจูนมีวงทางโคจรรอบดวงอาทิตย์เกือบเป็นวงกลม
-โลกเป็นดาวที่มีมนุษย์อาศัยอยู่

                                      

มวลของสมาชิกในระบบสุริยะ
ดวงอาทิตย์ 99.85 %
เหล่าดาวเคราะห์ 0.135 %
เหล่าดาวหาง 0.01 %
บริวารของดาวเคราะห์ 0.00005 %
ดาวเคราะห์น้อย 0.0000002 %
อุกกาบาต 0.0000001 %

องค์ประกอบของระบบสุริยะ
ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและเหล่าสมาชิกโคจรโดยรอบ คือ ดาวเคราะห์ 9 ดวง บริวารของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อยและอุกกาบาต เมื่อเปรียบเทียบมวลของสมาชิกในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์มีมวลมากที่สุดถึง 99.85% ขณะที่ดาวเคราะห์ทุกดวงรวมกันมีมวลเพียง 0.01355 % ซึ่งดาวพฤหัสบดีมีมวลสูงเป็น 2.5 เท่าของมวลดาวเคราะห์อื่น ๆ ทุกดวงรวมกัน
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานที่ใหญ่ที่สุดแผ่พลังงานออกไปในระบบสุริยะโดยรอบในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ขนาดของระบบสุริยจักรวาล
การวัดระยะทางภายในระบบสุริยจักรวาลใช้ระบบการวัดหลายระบบด้วยกัน ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็นไมล์ ระยะทาง จากดวงอาทิตย์ไปยังดาวเคราะห์ที่ไกลที่สุดที่ค้นพบว่ามีอยู่ปัจจุบัน คือ ดาวเคราะห์พลูโต มีระยะทาง 39.4 หน่วยดาราศาสตร์ในขณะดวงดาว(ดาวฤกษ์)ที่อยู่ ใกล้เรามากที่สุดห่างออกไป 1.33 พาร์เซค (4.35 ปีแสง) วงโคจรของดาวหาง ซึ่งเป็นวงยาวรืมากจะเป็นวงจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไกลออกไปหลายร้อยหรือหลายพัน หน่วยดาราศาสตร์ แต่บริเวณเลยดาวเคราะห์พลูโตออกไป เป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลของอวกาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ดังนั้นสมาชิกของระบบสุริยจักรวาล จึงห้อมล้อม ด้วยอวกาศและเมื่อเปรียบขนาดของสุริยจักรวาลกับขนาดของกาแลคซี่ทางช้างเผือกซึ่งสุริยจักรวาลของเราเป็นสมาชิกอยู่ ระบบสุริยจักรวาลจะเป็นเพียงจุดเล็กๆจุดหนึ่ง ที่ปราศจากความสำคัญใดๆและจะกลายเป็นเรื่องยากลำบากยิ่ง ในการค้นหาระบบสุริยจักรวาลของเราให้พบเมื่อสังเกตการณ์จากดวงดาวที่อยู่ใกล้สุริยจักรวาลที่สุด ยกเว้น แต่จะมองเห็นดวงอาทิตย์ของเราเพียงดวงเดียวเท่านั้น

ตำแหน่งของระบบสุริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง อยู่ในอาณาจักแห่งดวงดาว ที่เรียกว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก (The milky Way) หรือ กาแล็กซีของเรา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกดาวฤกษ์มากมายประมาณ 2 แสนล้านดวง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 แสนปีแสง ระบบสุริยะอยู่ห่างจากศูนย์กลางราว 32600 ปีแสง ดวงอาทิตย์พาเหล่าบริวารโคจรครบรอบกาแล็กซีในเวลา 225 ล้านปี
เมื่อมองจากอวกาศเหนือขั้วโลกเหนือของดวงอาทิตย์ สมาชิกในระบบสุริยะโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกาไปทางเดียวกัน ดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน กับระนาบที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเรียกว่า ระนาบสุริยวิถี (Ecliptic) มีแต่ดาวพลูโตดวงเดียวที่มีวงโคจรรีมาก และเอียงออกจากระนาบสุริยวิถีมากถึง 18 องศา


กำเนิดระบบสุริยะ
สันนิษฐานว่าระบบสุริยะมีกำเนิดมาจากกลุ่มก๊าซและฝุ่นขนาดมหึมาที่หมุนรอบศูนย์กลางเมื่อประมาณ 5000 ล้านปีก่อน มวลสารหมุนวนทำให้มีลักษณะเป็นจานแบนเมื่ออุณหภูมิรอบนอกค่อย ๆเย็นตัวลง มวลสารรวมตัวกันเกิดเป็นดาวเคราะห์และสมาชิกบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปทางเดียวกันและอยู่ในระนาบใกล้เคียงกัน เช่นทุกวันนี้

ประเภทของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์ชั้นใน (Inner Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลก (The Terrestrial Planet) คือมีพื้นผิวเป็นหินแข็งอย่างโลก ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ขณะที่ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคารมีบรรยากาศห่อหุ้มชัดเจน แต่ดาวพุธเกือบไม่มีบรรยากาศเลย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets)
เป็นกลุ่มดาวเคราะห์ที่มีลักษณะคล้ายดาวพฤหัสบดี (The Jovian Planets) คือเป็นดาวเคราะห์ก๊าซซึ่งอาจมีแกนแข็งขนาดเล็กอยู่ที่ใจกลางและ มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับโลกได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน

ดาวพลูโตดวงโดดเดี่ยว
ดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์ที่มีลักษณะพิเศษประกอบด้วยหินและน้ำแข็งจึงมีลักษณะคล้ายโลก แต่วงโคจรไกลเลยจากวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป มนุษย์ยังมีความรรู้เรื่องดาวพลูโตน้อยมาก เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตเอียงออกจากระนาบของ สุริยวิถีมากจึงมีบางช่วงนานราว 20 ปี ที่ดาวพลูโตโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน บรรยากาศอาจเกิดจากมีเทนแข็งระเหิด ขณะเมื่อพลูโตเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แต่เมื่ออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ตามปกติ ดาวพลูโตอาจเย็นจัดเป็นก้อนน้ำแข็งและไม่มีบรรยากาศก็เป็นได้

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

สัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์   ————–>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>            

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ชั้น G2  เป็นเพียงสมาชิกหนึ่งในบรรดาดาวฤกษ์หนึ่งแสนล้านดวง ในกาแล๊กซี่ทางช้างเผือก

เส้นผ่านศูนย์กลาง: 1,390,000 ก.ม.
มวล: 1.989 x 1030 ก.ก.
อุณหภูมิ: 5800 เคลวิน (พื้นผิว) 15,600,000 K (แกน)

ดวงอาทิตย์ เป็นเทหวัตถุ ที่ใหญ่ที่สุด ในระบบสุริยะ คิดเป็นมวลมากกว่า 99.8% ของมวลทั้งระบบ (ที่เหลือเกือบทั้งหมดเป็นดาวพฤหัสบดี )

ด วงอาทิตย์ มีชื่อเรียกหลายชื่อในเทพนิยาย: กรีกเรียกว่า เฮลิออส โรมันเรียกว่า ซอล

ในปัจจุบันดวงอาทิตย์ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 75% และ ฮีเลียม 25% นับโดยมวล (ไฮโดรเจน 92.1% และฮีเลียม 7.8% นับโดยจำนวนอะตอม) ที่เหลือจำนวน 0.1% เป็น “โลหะ”  X  ส่วนเหล่านี้เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ โดยดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจนในแกนของมันให้กลายเป็นฮีเลียม

ชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนที่แบบ differential rotation กล่าวคือ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตร หมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใช้เวลา 25.4 วัน แต่บริเวณขั้ว หมุนหนึ่งรอบใช้เวลาถึง 36 วัน พฤติกรรมเช่นนี้แสดงว่าดวงอาทิตย์มิได้เป็นของแข็ง (solid body) เฉกเข่นโลก แต่คล้ายกับ ดาวเคราะห์แก๊ส ลักษณะการหมุนเช่นนี้เกิดขึ้นในแนวลึกลงไปด้วย ยกเว้นตรงแกนของดวงอาทิตย์ หมุนรอบตัวในลักษณะแบบของแข็ง

แกนของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูงถึง 15.6 ล้านเคลวิน และมีความกดดัน 250 พันล้าน หน่วยบรรยากาศ แก๊สที่แกนกลางถูกอัดตัวให้มีความหนาแน่นมากกว่าน้ำถึง 150 เท่า

พลังงานของดวงอาทิตย์  ผลิตโดยปฏิกริยา นิวเคลียร์ฟิวชั่น ทุก ๆ หนึ่งวินาที ดวงอาทิตย์จะเปลี่ยนไฮโดรเจน 700,000,000 ตัน ให้กลายเป็นฮีเลียม 695,000,000 ตัน และพลังงานในรูปของรังสีแกมม่าอีกจำนวน 5,000,000 ตัน พุ่งตรงมายังพื้นผิว จากนั้นพลังงานถูกดูดกลืนเข้าไปและเปล่งออกอีก ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงเมื่อถึงพื้นผิว กลายเป็นแสงที่เรามองเห็นได้; ณ ข่วง 20% สุดท้ายก่อนที่จะถึงพื้นผิว พลังงานส่วนใหญ่ม้วนตัวกลับ ( convection ) มากกว่าที่จะแผ่รังสีออก

 พื้นผิวของดวงอาทิตย์เรียกว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์ มีอุณหภมิประมาณ 5,800 เคลวิน; จุดบนดวงอาทิตย์ (Sunspots) เป็นย่านที่อุณหภูมิต่ำเพียง 3,800 เคลวิน (มันดูมืดเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณรอบ ๆ) จุดบนดวงอาทิตย์อาจมีขนาดใหญ่ถึง 50,000 ก.ม. มันเกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สลับซับซ้อน และยังไม่เข้าใจดีนัก ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์อย่างไร

เหนือขึ้นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ มีชั้นเล็ก ๆ เรียกว่า โครโมสเฟียร์

 ชั้นที่อยู่เหนือโครโมสเฟียร์ เราเรียกว่า โคโรน่า มันแผ่ออกไปในอวกาศหลายล้านกิโลเมตร แต่จะมองเห็นได้เฉพาะเวลาที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้น โคโคน่ามีอุณหภูมิสูงมากกว่า 1,000,000 เคลวิน

ส นามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์มีความเข้มและซับซ้อนมาก เขต แมกเนโตสเฟียร์ (ซึ่งบางทีเรียกว่า เฮลิโอสเฟียร์) แผ่ขยายออกไปไกลกว่า ดาวพลูโต

 นอกเหนือจากความร้อนและแสง ดวงอาทิตย์แพร่อนุภาคความหนาแน่นต่ำ (ส่วนมากเป็นอิเล็กตรอนและโปรตอน) ซึ่งรู้จักกันในนามของลมสุริยะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 450 ก.ม./วินาที ลมสุริยะและอนุภาคซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ถูกพ่นออกโดย solar flares สามารถรบกวนสายไฟฟ้าแรงสูง คลื่นวิทยุะ และทำให้เกิดปรากฏการณ์แสงเหนือแสงใต้ที่งดงาม

 ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4.5 ล้านปี นับตั้งแต่กำเนิดมามันได้เผาผลาญไฮโดรเจนในแกนของมันไปประมาณครึ่งหนึ่ง มันยังคงแผ่รังสีอย่างสงบต่อไปอีกประมาณ 5 ล้านปี (ความสว่างจะมากขึ้นเป็นสองเท่าเมื่อถึงเวลานั้น) และเมื่อไฮโดรเจนหมดลง ขนาดของมันจะใหญ่ขึ้นจนกลืนโลกเข้าไป 

ดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์น้อยเป็นเทห์วัตถุ บนท้องฟ้า อีกชนิดหนึ่ง และเป็นบริวาร ที่โคจรรอบ ดวงอาทิตย์คล้ายๆ ดาวเคราะห์ แต่มักมีขนาดเล็ก โดยส่วนใหญ่ จะโคจรอยู่ในบริเวณ ระหว่าง ดาวอังคาร และดาวพฤหัส ข้อมูลปัจจุบัน ประมาณว่า มีดาวเคราะห์น้อย อยู่ประมาณ 30,000 ดวง ถึง 50,000 ดวง แต่มีเพียงไม่กี่ดวง ที่สามารถใช้ กล้องโทรทัศน์ขนาดเล็ก ส่องดูได้ ดาวเคราะห์น้อย บางดวงมีวงโคจร เปลี่ยนไป เปลี่ยนมา เมื่อโคจรผ่านดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัส จะถูกแรงดึงดูด รบกวนจน ทำให้วงโคจร ของดาวเคราะห์น้อย แปรเปลี่ยนไป ซึ่งบางดวง อาจโคจร เข้ามาใกล้โลกของเรา และอาจจะเกิด อันตรายต่อโลก ของเราได้ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยมาก แต่ก็มีการนำเรื่อง ดังกล่าว ไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ ที่หลายคน อาจจะได้ดูเมื่อ เร็วๆนี้ คือเรื่อง “Armageddon” ที่ทำเงิน จากการฉายทั่วโลกได้มากมาย   อืมเรื่องนี้ไม่มีรูปประกอบนะหาไม่ได้อ่ะ

ดาวหาง

ดาวหางเป็นเทหวัตถุมีมวลน้อยมาก หมุนอยู่รอบดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสมาชิกอื่นๆในระบบสุริยจักรวาลของเรา รูปร่างและความสว่างของดาวหางแต่ละดวงมีความแตกต่างกันออกไปตามระยะทางที่มันอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวหางดวงที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นระยะทางไกลๆจะมีความสว่างน้อยมาก มองเห็นคล้ายๆว่าเป็นดวงดาวดวงหนึ่งเท่านั้น ส่วนประกอบสำคัญของดาวหางคือเทหวัตถุขนาดเล็กๆอยู่ในบริเวณตอนหัวของมันเรียกว่า นิวเคลียส

ปรากฏการณ์ของดาวหาง

ในอดีตมนุษย์มักจะมีความหวาดกลัวปรากฏการณ์ของดาวหางทั้งนี้เพราะมองเห็นว่าดาวหางปรากฏตัวขึ้นมาอย่าง กะทันหัน และมีแสงสุกใสมีเส้นทางโคจรลึกลับและบางครั้งดาวหางก็เปลี่ยนแปลงรูปร่างของมันไปอย่างรวดเร็ว

การโคจรของดาวหาง

วงโคจรของมันจะมีรูปทรงกรวยโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลาง ชนิดของรูปทรงกรวยขึ้นอยู่กับลักษณะ การโคจรไม่เป็นวงกลมของมันคือ 2 และขึ้นอยู่กับความเร็วของดาวหางที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ใกล้ที่สุดคือระยะทาง เส้นทางโคจรของดาวหางมีความซับซ้อนมากกว่าที่กล่าวมาแล้วเพราะว่าดาวหางจะถูกรบกวนขณะเดินทางจากแรงดึงดูด ของดาวเคราะห์ ซึ่งบางครั้งมีผลกระทบต่อเส้นทางโคจรของมันเพียงเล็กน้อย แต่บางครั้งก็จะมีผลกระทบต่อเส้นทางเดินของดาวหาง ดวงนั้นเป็นอย่างมาก ดาวหางยิ่งเดินทางผ่านดาวเคราะห์มากเท่าใด ดาวหางดวงนั้นย่อมได้รัยอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์ ดวงนั้นมากเท่านั้น ยิ่งดาวพฤหัสบดีซึ่งมีมวลมากส่งผลกระทบต่อวงโคจรของดาวหางมาก

The FireBall-The Meteor

                              อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

อุกกาบาต(meteorite) เกิดจากวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ผ่านบรรยากาศโลกระยะสูงราว120กม.และเสียดสีกับบรรยากาศทำให้เกิดความร้อน มากพอที่จะทำให้วัตถุ นั้นกลายเป็นไอสว่างวาบคืนเดือนมืดท้องฟ้ากระจ่างเราสามารถมองเห็นอุกกาบาตเฉลี่ย 5-6 ชิ้น มักจะเกิดหลังเที่ยงคืน

                              สะเก็ดดาวหรือดาวตก มองเห็นวิ่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกเป็นแสงสว่างแล้วก็หายไป สะเก็ดดาวตกอาจเป็นวัตถุแข็งๆ มีขนาดไม่โตกว่าเม็ดทรายหรืออาจมีขนาดเท่าๆกับเม็ดถั่วลิสงเท่านั้น แสงสว่างเกิดขึ้นมาเพราะการเสียดสีระหว่างอะตอมของสะเก็ดดาวตก กับโมเลกุลของอากาศของโลก สะเก็ดดาวตกเช่นนั้นมองเห็นมีแสงสว่างสะเก็ดดาวตกเช่นนั้นจะหายไปใน บรรยากาศของโลกในระดับความสูงประมาณ 60 ไมล์(95 กิโลเมตร) เทห์แข็งๆของสะเก็ดดาวบางครั้งมีมวลเพียงไม่กี่ออนซ์ จนถึงมีนำหนักหลายตันอาจหล่นมาถึงผิวโลกเรียกว่า อุกกาบาต สะเก็ดดาวบางครั้งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียงไม่กี่ไมครอน วิ่งผ่านบรรยากาศและหล่นมาถึงผิวโลก เหลือเป็นอนุภาคเล็กๆ เมื่อโคจรผ่านสะเก็ดดาว ซึ่งเคลื่อนไหว ในวงโคจรรอบๆดวงอาทิตย์ จะมีจำนวนดาวตก จำนวนมากวิ่งผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกชั่วโมง หนึ่งหลายสิบครั้ง บางครั้งกลุ่มสะเก็ดดาวปรากฏตัวอยู่บนท้องฟ้า เป็นแผ่นหนาเหมือนหิมะกลุ่มละอองสะเก็ดดาวในวงโคจรบางครั้งมีลักษณะเหมือนกลุ่มละออง สะเก็ดดาวในดาวหาง เรื่องนี้เป็นหลักฐานแสดง ให้เห็นว่าดาวหางและกลุ่มสะเก็ดดาวมีความเกี่ยวพันกันนักดาราศาสตร์มีความเห็นว่าสสาร ของสะเก็ดดาว คือส่วนที่หลงเหลือจากการสลายตัวของดาวหางบางดวง

               ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุกกาบาต เช่น
ฝนอุกกาบาต(meteor showers) คือขณะที่โลกโคจรไปพบอุกกาบาตที่มาด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่อุกกาบาตนี้จะตกลงมาในเวลาอันรวดเร็ว                                                         เป็นจำนวนมาก
กลุ่มอุกกาบาต(meteor warm)   คืออุกกาบาตซึ่งโคจรเป็นกลุ่มมีวงโคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์ไม่หนาแน่น ประมาณ 14 ชิ้น/2ล้านลูกบาศก์ไมล์
ธารอุกกาบาต(meteor steam)   คือกลุ่มอุกกาบาตที่แผ่กระจายออกมาตามความโค้งวงทางโคจรทำให้ดูเหมือนว่าอุกกาบาตนั้นเคลื่อนที่ในอวกาศ                                                        เป็นสายธาร

The Nebula

                            คำว่า”เนบิวลา”นักดาราศาสตร์ใช้เรียกสิ่งที่ปรากฏเป็นเมฆหมอกฝ้าอยู่คงที่ในท่ามกลางดวงดาว บนท้องฟ้า อาจจะปรากฏเป็นแสงสว่างเรือง หรือ มืดสนิทก็ได้ เรามองเห็นเนบิวลาได้ยาก เพราะแม้ชนิดที่สว่างก็มีแสงจาง แผ่กรจายไม่รวมกันเข้มเป็นจุดสว่างดังเช่นดาวฤกษ์ เราจึงสามารถเห็นเนบิวลาบนท้องฟ้าด้วยตาเปล่าได้เพียง 4 แห่ง ในขณะที่สามารถเห็นดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่าถึงราว 5,000 ดวง ความจริงเนบิวลามีอยู๋เป็นปริมาณมากมายไม่น้อย การที่เราจะตรวจพบหรือไม่ขึ้นอยู่กับความไวของอุปกรณ์ที่ใช้สำรวจ เนบิวลาที่อยู๋ในระบบทางช้างเผือกของเรา เรียกว่า กาแลคติคเนบิวลา Galaxtic Nebula ซึ่งเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสัมพันธ์ทางใดทางหนึ่งกับดาวฤกษ์ หรือกลุ่มดาวในกาแลกซี ซึ่งดวงอาทิตย์ของเราเป็นสมาชิกหน่วยหนึ่ง ตัวอย่างของ Galaxtic Nebulaชนิดแผ่กระจายได้แก่ กลุ่มที่อยู๋ในหมู่ดาว ออไรน นับเป็นกลุ่มก๊าซและฝุ่นซึ่งใหญ่โตกลุ่มหนึ่งในกาแลกซี กินอาณาเขตกว้างขวางในอวกาศ แผ่คลุมดาวฤกษ์อยู่ภายในองค์ประกอบสำคัญ คือ Hydrogen Helium มากที่สุด และนอกนั้นก็มี Oxygen และ Nitrogen เป็นต้น เนบิวลานี้เรืองเสงเพราะถูกกระตุ้นด้วยUVจากดาวฤกษืซึ่งอยู่ภายใน และบางส่วนของก๊าซและฝุ่นที่อยู่เบื้องหลังไกลออกไป จึงปรากฏเป็นเนบิวลามืด กาแลคติคเนบิวลาชนิดเป็นดวง นั้นเป็นกลุ่มก๊าซรูปทรงกลมซึ่งแผ่กระจายออกมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ และปรากฏให้เห็นหลายดวงบนท้องฟ้า เช่นที่เรียกกันว่า เนบิวลาวงแหวน เนบิวลาปู เนบิวลานกฮูก เป็นต้น ตามความคล้ายคลึงกับรูปสิ่งของ สัตว์ที่มนุษย์คุ้นเคยกันทั่วไป

                    เนบิวลานอกกาแลกซี หรือ สไปราลเนบิวลา นั้นเป็นวัตถุจำพวกที่อยู๋ห่างไกลออกไปนอกกาแลกซีของเรา เป็นต้นว่า เมฆแมคเยลแลน ซึ่งเห็นได้ด้วยตาเปล่าบนท้องฟ้าของซีกโลกภาคใต้ อยู่ห่างไป 150,000 ปีแสง หรืออาจจะมากกว่านั้นก็เป็นได้เช่น สไปราลเนบิวลา ที่อยู่ในทิศทางของหมู่ดาวอันโดรเมดาซึ่งอยู่ห่างออกไปถึง 2,200,000 ปีแสง ข้างล่างจะเป็นลักษณะของเนบิวลานะ

: 10 มิถุนายน 2540 เวลา 0.33 น. กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสสิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล Losmandy G-11 เนบิวลาอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ตำแหน่ง R.A. 18h 02m Dec -23o02′ อันดับความสว่าง 8.5 ฟิล์ม Kodak Multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 45 นาที

: 4 มิถุนายน 2540 เวลา 2.03 น.
ใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงแบบชมิดท์แคสซิเกรน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที ฟิล์ม Kodak Multispeed ตำแหน่ง 18h20m, -16o11′
อันดับความสว่าง 7.6 อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู (Ophiuchus)

: 15 มีนาคม 2540 เวลา 3.00 น.
กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง แบบชมิดท์แคสซิเกรน เส้นผ่านศูนย์กลาง 11 นิ้ว
ความยาวโฟกัส 2800 มม. f/10 ฐานตั้งกล้องแบบอิเควทอเรียล LOSMANDY G-11
อันดับความสว่าง 5.8 อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู (Sagittarius)
ฟิล์ม Kodak multispeed เปิดหน้ากล้องนาน 30 นาที

จบแล้วครับ นี่คือส่วนเล็กส่วนน้อย ครับ ^_^ ไม่เยอะเท่าไหร่อะ

[Update] เอกภพ (Universe) | เนบิวลาวงแหวน – Australia.xemloibaihat

เอกภพ (Universe)

เอกภพ เป็นที่ว่างที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลจนไม่สามารถกำหนดขอบเขตได้ ในเอกภพประกอบไปด้วยหลายๆ กลุ่มดาว หรือเรียกว่า กาแลคซี่ (Galaxy) ภายในกาแลคซี่ประกอบไปด้วยดวงดาวมากมายหลายร้อยล้านดวง ทั้งดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝุ่นและกลุ่มเนบิวลา เช่นเดียวกับกลุ่มดาวที่โลกเราอยู่คือ กาแลคซี่ทางช้างเผือก (Milky Way)

สาเหตุที่เราเรียกว่ากาแลคซี่ทางช้างเผือก เนื่องจากเมื่อเรามองจากโลกไปยังกาแลคซี่ดังกล่าวเราจะมองเห็นท้องฟ้าเป็นทางขาวคล้ายเมฆพาดยาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าทางช้างเผือกนี้มีดวงดาวอยู่ประมาณแสนล้านดวง สำหรับระบบสุริยะจักรวาลเป็นส่วนหนึ่งของทางช้างเผือก มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง มีดวงดาวต่าง ๆ หรือเทห์ฟากฟ้า ดวงดาวทุกดวงจะมีความเกี่ยวพันกันอยู่กับดวงดาวดวงหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ดวงจันทร์กับโลก โลกกับดวงอาทิตย์ เทห์ฟากฟ้าที่ประกอบกันอยู่ในระบบสุริยะจักรวาล ได้แก่ ดาวเคราะห์ ดาวบริวาร ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ดาวตก อุกกาบาต เป็นต้น

ปัจจุบันนักดาราศาสตร์เชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซี่ถึง หนึ่งแสนล้านกาแล็กซี่ โดยกาแล็กซี่แมกเจนแลนใหญ่อยู่ใกล้กาแล็กซี่ทางช้างเผือกของเรามากที่สุด ด้วยระยะทางที่แสงใช้ระยะทางในการเดินทางถึง 170,000 ปี

เอกภพทั้งหมดถือกำเนิดขึ้นมาได้อย่างไรเป็นปริศนาที่นักดาราศาสตร์พยายามค้นหาคำตอบมาเนิ่นนานแล้ว ปัจจุบันคำอธิบายที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดคือ ทฤษฎีบิ๊กแบง

ทฤษฎีบิ๊กแบงระบุว่าการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่เมื่อประมาณ 15,000 ล้านปีก่อนเป็นต้นกำเนิดของเอกภพและสรรพสิ่งทั้งหมด หลังการระเบิดเอกภพขยายตัวออกทุกทิศทางพร้อมกับอุณหภูมิที่ค่อยๆ ลดลง เมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีกลุ่มอนุภาคเล่นอิเล็กตรอนและโปรตรอนเริ่มรวมตัวกันเป็นกาแล็กซี่ต่อมาฝุ่นภายในกาแล็กซี่จึงรวมตัวกับแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดเป็นดาวฤกษ์ซึ่งเปล่งแสงได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นภายใน

วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ทุกดวงจะมาถึงเมื่อไฮโดรเจนซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักเริ่มหมดลง ดาวฤกษ์จะสว่างวาบขึ้นพร้อมกับขยายตัวกระทั่งรัศมีเพิ่มขึ้นกว่าร้อยเท่าเรียกว่าดาวยักษ์แดง ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นกับดวงอาทิตย์ในอีก 5,000 ล้านปีข้างหน้าซึ่งเมื่อเวลานั้นมาถึงโลกจะถูกเผาไหม้เป็นเถ้าถ่านอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง หลังจากขยายตัวเป็นดาวยักษ์แดง ดาวฤกษ์จะเข้าสู่วาระสุดท้ายโดยการหดตัวอย่างรุนแรง หากเป็นดาวฤกษ์ที่มีมวลสารน้อย เช่นดวงอาทิตย์ พื้นผิวส่วนนอกจะกลายสภาพเป็นก๊าซแผ่ออกสู่ห้วงอวกาศส่วนแกนกลางจะเย็นลงพร้อมกับหดตัวอย่างรุนแรงกลายสภาพเป็นดาวแคระขาว ซึ่งมวลสารของดวงดาว 1 ช้อนโต๊ะจะมีน้ำหนักประมาณ 1,000 ตัน แต่หากดวงดาวมีมวลมากพออาจระเบิดเป็น Supernova แกนกลางที่เหลือจะกลายเป็นดาวนิวตรอนซึ่งมีความหนาแน่นสูงมากจนมวลสาร 1 ช้อนโต๊ะหนักนับพันล้านตันและหากดาวดวงนั้นมีมวลมากกว่า 3 เท่าของดวงอาทิตย์อาจเกิดการหดตัวอย่างแรงที่สุดจนกลายสภาพเป็นหลุมดำหรือ Black Hole ที่มีแรงดึงดูดมหาศาลจนแม้แต่แสงก็ไม่อาจหลบหนีการดูดกลืนเข้าสู่หลุมดำได้

การก่อเกิด เปลี่ยนแปลง และเสื่อมสลายของดาวฤกษ์เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา มวลสารและพลังงานของดวงดาวที่แตกดับกลับกลายเป็นองค์ประกอบของดาวดวงใหม่หมุนเวียต่อไปไม่สิ้นสุด สิ่งใดดำรงอยู่ก่อนการก่อเกิดเอกภพวาระสุดท้ายของเอกภพเป็นเช่นไรรวมทั้งมีชีวิตอยู่บนดาวดวงอื่นหรือไม่ทั้งหมดนี้คือปริศนาที่ยังรอคำตอบจากนักบุกเบิกห้วงอวกาศรุ่นต่อไป

ระบบสุริยะจักรวาล (Solar System)

กำนิดของระบบสุริยะจักรวาลสืบเนื่องมาจากการระเบิดของดวงดาวขนาดใหญ่ (Supernova Explosion) เป็นสาเหตุทำให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนของฝุ่นและก๊าซ ส่วนในเป็นการรวมตัวของฝุ่นและก๊าซ เมื่ออุณหภูมิลดลง แรงโน้มถ่วงจะดึงดูดให้ฝุ่นและก๊าซมีการอัดตัวกันแน่น เกิดความร้อนและปฏิกริยานิวเคลียร์ที่แกนของก๊าซไฮโดรเจนเปลี่ยนเป็นก๊าซฮีเลียมและเกิดเป็นพลังงานมหาศาล ส่วนนี้กลายเป็นดวงอาทิตย์ ส่วนฝุ่นและก๊าซส่วนที่เหลือ เมื่อเย็นตัวลงกลายเป็นดาวเคราะห์หมุนรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งดาวเคราะห์เหล่านี้ประกอบไปด้วยของแข็ง เช่น ดิน หิน และปกคลุมด้วยก๊าซ ส่วนดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากๆ เป็นกลุ่มก้อนก๊าซที่มีขนาดใหญ่มาก

ระบบสุริยะจักรวาลเป็นระบบที่มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ปัจจุบันมีดาวพระเคราะห์ 8 ดวง (เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ที่ประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากลที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ได้มีมติปลดออกดาวพลูโตจากการเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ คงเหลือดาวเคราะห์เพียง 8 ดวง) และดวงจันทร์มากกว่า 48 ดวง นอกจากนั้นยังประกอบไปด้วย ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ดาวตก อุกกาบาต เป็นบริวารโคจรรอบๆ ดวงอาทิตย์ สำหรับดาวเคราะห์ที่สำคัญของระบบสุริยะจักรวาล และดวงอาทิตย์ มีรายละเอียดดังนี้

1. ดวงอาทิตย์ (Sun) เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะจักรวาล อยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางประมาณ 93 ล้านไมล์ และมีขนาดใหญ่กว่าโลกมากกว่า 1 ล้านเท่า มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางยาวกว่าโลก 100 เท่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่มีแสงสว่างในตัวเอง ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก อุณหภูมิของดวงอาทิตย์อยู่ระหว่าง 5,500 – 6,100 องศาเซลเซียส พลังงานของดวงอาทิตย์ทั้งหมดเกิดจากก๊าซไฮโดรเจน โดยพลังงานดังกล่าวเกิดจากปฏิกริยานิวเคลียร์ภายใต้สภาพความกดดันสูงของดวงอาทิตย์ ทำให้อะตอมของไฮโดรเจนซึ่งมีอยู่มากบนดวงอาทิตย์ทำปฏิกริยาเปลี่ยนเป็นฮีเลียม ซึ่งจะส่งผ่านพลังงานดังกล่าวมาถึงโลกได้เพียง 1 ใน 200 ล้านของพลังงานทั้งหมด

นอกจากนั้นบนพื้นผิวของดวงอาทิตย์ยังเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของพลังงานความร้อนบนดวงอาทิตย์อันเนื่องมาจากจุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot) ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแปรผันของพายุแม่เหล็ก และพลังงานความร้อน ทำให้อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนหลุดจากพื้นผิวดวงอาทิตย์สู่ห้วงอวกาศ เรียกว่า ลมสุริยะ (Solar Wind) และแสงเหนือและใต้ (Aurora) เป็นปรากฏการณ์ที่ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้

การเกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์ (Sunspot) บางครั้งเราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และจะเห็นได้ชัดเจนเวลาดวงอาทิตย์ใกล้ตกดิน จุดดับของดวงอาทิตย์จะอยู่ประมาณ 30 องศาเหนือ และ ใต้ จากเส้นศูนย์สูตร ที่เห็นเป็นจุดสีดำบริเวณดวงอาทิตย์เนื่องจากเป็นจุดที่มีแสงสว่างน้อย มีอุณหภูมิประมาณ 4,500 องศาเซลเซียส ต่ำกว่าบริเวณโดยรอบประมาณ 2,800 องศาเซลเซียส นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าก่อนเกิดจุดดับบนดวงอาทิตย์นั้น ได้รับอิทธิพลจากอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าบริเวณพื้นผิวดวงอาทิตย์มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้อุณหภูมิบริเวณดังกล่าวต่ำกว่าบริเวณอื่นๆ และเกิดเป็นจุดดับบนดวงอาทิตย์

แสงเหนือและแสงใต้(Aurora) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดบริเวณขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้ มีลักษณะเป็นลำแสงที่มีวงโค้ง เป็นม่าน หรือ เป็นแผ่น เกิดเหนือพื้นโลกประมาณ 100 – 300 กิโลเมตร ณ ระดับความสูงดังกล่าวก๊าซต่างๆ จะเกิดการแตกตัวเป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า และเมื่อถูกแสงอาทิตย์จะเกิดปฏิกริยาที่ซับซ้อนทำให้มองเห็นแสงตกกระทบเป็นแสงสีแดง สีเขียว หรือ สีขาว บริเวณขั้วโลกทั้งสองมีแนวที่เกิดแสงเหนือและแสงใต้บ่อย เราเรียกว่า “เขตออโรรา” (Aurora Zone)

2. ดาวพุธ (Mercury)เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์มากที่สุด สังเกตเห็นด้วยตาเปล่าได้ตอนใกล้ค่ำและ ช่วงรุ่งเช้า ดาวพุธไม่มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวาร ดาวพุธหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออกกินเวลา ประมาณ 58 – 59 วัน และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 88 วัน

3. ดาวศุกร์ (Venus)สังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยสามารถมองเห็นได้ทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันตกในเวลาใกล้ค่ำ เราเรียกว่า”ดาวประจำเมือง” (Evening Star) ส่วนช่วงเช้ามืดปรากฏให้เห็นทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกเรียกว่า “ดาวรุ่ง” (Morning Star) เรามักสังเกตเห็นดาวศุกร์มีแสงส่องสว่างมากเนื่องจาก ดาวศุกร์มีชั้นบรรยากาศที่ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีผลทำให้อุณหภูมิพื้นผิวสูงขึ้น ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก ไม่มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวาร

4. โลก (Earth)โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เนื่องจากมีชั้นบรรยากาศและมีระยะห่าง จากดวงอาทิตย์ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต นักดาราศาสตร์อธิบายเกี่ยวกับการเกิดโลกว่า โลกเกิดจากการรวมตัวของกลุ่มก๊าซ และมีการเคลื่อนทีสลับซับซ้อนมาก โดยเราจะได้ศึกษาในรายละเอียดต่อไป

5. ดาวอังคาร (Mars) อยู่ห่างจากโลกของเราเพียง 35 ล้านไมล์ และ 234 ล้านไมล์ เนื่องจากมีวงโคจรรอบดวง อาทิตย์เป็นวงรี พื้นผิวดาวอังคารมีปรากฏการณ์เมฆและพายุฝุ่นเสมอ เป็นที่น่าสนใจในการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากมีลักษณะและองค์ประกอบที่ใกล้เคียงกับโลก เช่น มีระยะเวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 วัน เท่ากับ 24.6 ชั่วโมง และระยะเวลาใน 1 ปี เมื่อเทียบกับโลกเท่ากับ 1.9 มีการเอียงของแกน 25 องศา ดาวอังคารมีดวงจันทร์เป็นบริวาร 2 ดวง

6. ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 9.8 ชั่วโมง ซึ่งเร็วที่สุดในบรรดาดาวเคราะห์ทั้งหลาย และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา12 ปี นักดาราศาสตร์อธิบายว่า ดาวพฤหัสเป็นกลุ่มก้อนก๊าซหรือของเหลวขนาดใหญ่ ที่ไม่มีส่วนที่เป็นของแข็งเหมือนโลก และเป็นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวารมากถึง 16 ดวง

7. ดาวเสาร์ (Saturn) เป็นดาวเคราะห์ที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เป็นดาวที่ประกอบไปด้วยก๊าซและของ เหลวสีค่อนข้างเหลือง หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลา 10.2 ชั่วโมง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบใช้เวลา 29 ปี ลักษณะเด่นของดาวเสาร์ คือ มีวงแหวนล้อมรอบ ซึ่งวงแหวนดังกล่าวเป็นอนุภาคเล็กๆ หลายชนิดที่หมุนรอบดาวเสาร์มีวงแหวนจำนวน 3 ชั้น ดาวเสาร์มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวาร 1 ดวง และมีดวงจันทร์ดวงหนึ่งชื่อ Titan ซึ่งถือว่าเป็นดวงจันทร์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะจักรวาล

8. ดาวยูเรนัส (Uranus) หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 16.8 ชั่วโมง และโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 84 ปี ดาวยูเรนัสประกอบด้วยก๊าซและของเหลว เช่นเดียวกับ ดาวพฤหัส และดาวเสาร์ 4.8 ดาวเนปจูน (Neptune) เป็นดาวเคราะห์ที่มีระยะเวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ เท่ากับ 17.8 ชั่วโมง และระยะ เวลาในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ เท่ากับ 165 ปี มีดวงจันทร์เป็นดาวบริวาร 2 ดวง

โลก (Earth)

ลักษณะรูปทรงของโลก จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และนักสำรวจ พบว่าโลกมีรูปทรงแบบ ทรงรีที่ขั้วทั้งสองยุบตัวลง (Oblate Ellipsoid) หรือเราเรียกว่าทรงรีแห่งการหมุน เนื่องมาจากสภาวะของโลกที่หนืด เมื่อโลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดแรงเหวี่ยง และทำให้เกิดการยุบตัวบริเวณขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้ และป่องตัวออกบริเวณส่วนกลางหรือเส้นศูนย์สูตร สามารถสังเกตได้จากความยาวของเส้นศูนย์สูตร ที่มีความยาว 12,757 กิโลเมตร (7,927 ไมล์) และระยะทางจากขั้วโลกเหนือมาขั้วโลกใต้มีความยาว 12,714 กิโลเมตร (7,900 ไมล์) ซึ่งมีความแตกต่างกัน 43 กิโลเมตร (27 ไมล์) รูปทรงแบบ ยีออยด์ (Geoid) เป็นไปตามสภาพพื้นผิวโลกที่มีความขรุขระสูงต่ำดังนั้นส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีปจะมีลักษณะนูนสูงจึงต้องมีการปรับลักษณะพื้นผิวโลกเสียใหม่ โดยใช้แนวของพื้นผิวของระดับน้ำทะเลตัดผ่านเข้าพื้นดินที่มีระดับเท่ากันกับรูปทรงโลก เรียกว่า รูปทรงของโลกแบบยีออด์

โลกหมุน โลกโคจร ต่างกันอย่างไร ? การเคลื่อนไหวของโลก มี “การหมุน” และ “การโคจร” การหมุนของโลก เป็นการเคลื่อนไหวของโลกรอบแกนของตัวเอง ทำให้เกิดกลางวัน และกลางคืน ซึ่งเรียกว่า “วัน” แต่ละวันใช้เวลาแตกต่างกัน ได้แก่ วันดาราคติ (Sidereal Day) ยึดหลักการหมุนรอบแกนตัวเองของโลกครบ 1 รอบ โดยใช้เวลา 23 ชั่วโมง 56 นาที 4.09 วินาที วันสุริยคติ (Solar Day) ยึดหลักช่วงระยะเวลาที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นเมอริเดียนครบ 1 รอบ (เที่ยงวันหนึ่งไปยังอีกเที่ยงวันหนึ่ง) ซึ่งจะกำหนดเวลาเท่ากับ 24 ชั่วโมง

โลกหมุนรอบตัวเองเร็วเท่าไหร่ ? มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยบริเวณเส้นศูนย์สูตร ความเร็วในการ หมุนรอบตัวเองของโลกเท่ากับ 1,700 กิโลเมตร / ชั่วโมง ส่วนบริเวณละติจูดที่ 60 องศา ความเร็วของการหมุนรอบตัวเองของโลกจะมีค่าประมาณ 850 กิโลเมตร / ชั่วโมง หรือประมาณครึ่งหนึ่งของความเร็วที่ศูนย์สูตร แต่บริเวณขั้วโลกความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลกมีค่าเป็นศูนย์ ผลจากการที่อัตราความเร็วของการหมุนรอบตัวเองของโลกต่างกัน จะมีผลตามมาที่สำคัญ คือ แรงเหวี่ยงของโลกมีผลต่อน้ำหนักของวัตถุ เพราะเป็นแรงหนีศูนย์กลาง ดังเช่น วัตถุชิ้นหนึ่งมีน้ำหนัก 250 กิโลกรัมที่ศูนย์สูตร ขณะที่โลกยังไม่มีแรงเหวี่ยง แต่ถ้าโลกมีแรงเหวี่ยงเกิดขึ้นจะทำให้น้ำหนักของวัตถุเท่ากับ 249 กิโลกรัม แสดงว่าแรงเหวี่ยงจากการหมุนรอบตัวเองของโลกมีผลต่อน้ำหนักของวัตถุ มีผลต่อทิศทางของลมและกระแสน้ำ โดยทิศทางของลมและกระแสน้ำบริเวณขั้ว โลกเหนือจะเบนไปทางขวามือ ส่วนซีกโลกใต้จะเบนไปทางซ้ายมือ เพราะโลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก

โลกหมุนรอบตัวเองทำให้เกิดอะไรขึ้นบ้าง ? การหมุนรอบตัวเองของโลกทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่สำคัญ คือ การเกิดกลางวันและกลางคืน (Day and Night) เมื่อโลกหมุนรอบตัวเองด้านที่หันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์จะทำให้เกิดกลางวันส่วนด้านที่หันหลังให้ดวงอาทิตย์จะเป็นเวลากลางคืน ในขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก จะทำให้เราเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นมาจากขอบฟ้าทางด้านทิศตะวันออก และตกทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันตกเสมอ ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตรเวลาในช่วงกลางวันและกลางคืนจะเท่ากัน คือ 12 ชั่วโมง

และเนื่องจากการเอียงของแกนโลกทำให้บริเวณต่างๆ มีระยะเวลาในการรับแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ทำให้ระยะเวลาในช่วงกลางวันและกลางคืนต่างกัน เช่น ซีกโลกเหนือระยะเวลากลางวันในฤดูร้อนจะยาวนานมาก และในบริเวณขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต้จะมีเวลากลางวันตลอด 24 ชั่วโมง เกิดรุ่งอรุณและสนธยา (Dawn and Twilight) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากโมเลกุลหรือนุภาคต่าง ๆ ในบรรยากาศ เช่น ฝุ่นละออง ความชื้น เกิดการสะท้อนแสงของดวงอาทิตย์กลับมายังพื้นโลก ซึ่งจะเกิดก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น และหลังดวงอาทิตย์ตกดิน เราจะเห็นเป็นแสงสีแดงเนื่องจากแสงที่ส่องมาจากดวงอาทิตย์อยู่ในลักษณะเอียงลาด ไม่ได้ตั้งฉากเหมือนตอนกลางวัน แสงสีน้ำเงินและสีเหลืองมีการหักเหของแสงมาก แต่แสงสีแดงมีการหักเหน้อยที่สุด ทำให้เรามองเห็นท้องฟ้าเป็นสีแดงในช่วงเวลาดังกล่าว

เนื่องจากแกนโลกเอียงทำมุม 23 1/2 องศา ทำให้การเคลื่อนที่ของโลกโดยแกนของโลกจะชี้ไปยังจุดใดจุดหนึ่งบนท้องฟ้าเพียงจุดเดียว แกนของโลกด้านหนึ่งจะเอนเข้าหาดวงอาทิตย์ ส่วนแกนอีกด้านหนึ่งจะเอนออกห่างจากดวงอาทิตย์เสมอ ผลจากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์จะทำให้เกิด ความผันแปรของระยะเวลากลางคืนและกลางวัน ความผันแปรของความยาวนานของกลางคืนและกลางวันเมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในซีกโลกเหนือในฤดูหนาว ผลจากการเอียงของแกนโลกทำให้ขั้วโลกเหนือไม่ได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์ มีผลทำให้ความยาวนานของระยะเวลากลางคืนมากขึ้น ดังนั้นในช่วงฤดูหนาวทางขั้วโลกเหนือจะเป็นช่วงเวลากลางคืนถึง 24 ชั่วโมง ในทางตรงกันข้ามช่วงดูร้อน

จากการเอียงของแกนโลกขั้วโลกเหนือจะหันเข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้พื้นที่บริเวณดังกล่าวได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์มากขึ้นจะเป็นเวลากลางวันตลอด 24 ชั่วโมง เป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่า “ดินแดนแห่งพระอาทิตย์เที่ยงคืน” สำหรับในซีกโลกใต้สามารถอธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าวได้เช่นเดียวกับซีกโลกเหนือในทางกลับกัน การเกิดฤดูกาลบนพื้นโลก (Season) แปรผันโดยตรงกับปริมาณของความร้อนที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์ จำนวนฤดูกาลที่เกิดบนพื้นโลกในส่วนต่าง ๆ กันมีระยะเวลาและจำนวนฤดูกาลแตกต่างกันไป ได้แก่ ช่วงเดือน ธันวาคม-กุมภาพันธ์ โลกหันซีกเหนือออกห่างจากดวงอาทิตย์ทำให้ได้รับแสงน้อยมาก ทำให้อุณหภูมิต่ำลงส่วนซีกโลกใต้จะได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นมากจึงเป็นช่วงฤดูร้อน

หลังจากเดือนกุมภาพันธ์โลกจะค่อยๆ หันด้านข้างเข้าหาดวงอาทิตย์ทำให้บริเวณเส้นศูนย์สูตรได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์ ช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม พื้นที่บริเวณดังกล่าวจึงเป็นฤดูร้อน ส่วนพื้นที่ซีกโลกเหนือจะเริ่มเข้าฤดูใบไม้ผลิ ในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม โลกหันซีกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ จึงทำให้ซีกโลกเหนือได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ในอัตราสูง ส่งผลให้ซีกโลกเหนือมีอุณหภูมิสูงขึ้น ซีกโลกเหนือจึงเป็นฤดูร้อน

ในทางกลับกันซีกโลกใต้จะมีอุณหภูมิต่ำเนื่องจากได้รับแสงจากดวงอาทิตย์น้อย จากเดือนกันยายน เป็นต้นไป โลกเริ่มโคจร โดยเบนด้านข้างเข้าหาดวงอาทิตย์ ทำให้แสงดิ่งของดวงอาทิตย์ค่อย ๆ เคลื่อนลงทางใต้ ทำให้อุณหภูมิของซีกโลกเหนือค่อย ๆ ลดลง ในช่วงเวลาดังกล่าว (เดือนกันยายน-พฤศจิกายน) จึงเป็นฤดูใบไม้ร่วงในซีกโลกเหนือ ความสูงของดวงอาทิตย์เที่ยงวัน ตามความเป็นจริงแล้วแสงดิ่งของดวงอาทิตย์จะตกกระทบตามแนวเส้นศูนย์สูตรใน 1 ปี มี 2 วันเท่านั้น คือ ในวันที่ 21 มีนาคม และวันที่ 23 กันยายน เราเรียกสองวันนี้ว่า วันวิษุวัต (Equinox) โดยจะเป็นวันที่มีช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน (วิษุวัต แปลว่า เท่ากัน)

โดยวันที่ 21 มีนาคม (ช่วงฤดูฝน) เรียกว่าวัน วสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) และวันที่ 23 กันยายน (ช่วงฤดูใบไม้ร่วง) เรียกว่าวัน ศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) ถ้าจะอธิบายความสูงของดวงอาทิตย์เที่ยงวัน เริ่มจากวันวสันต-วิษุ (วันที่ 21 มีนาคม) ซึ่งจากรูปจะเห็นว่าบริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์พอดี ทำให้เวลากลางวันเท่ากับกลางคืน ถ้าพิเป็นช่วงวันที่แสงส่องตรงเส้นศูนย์สูตร (ที่ 0 องศา พอดี) หลังจากนั้นโลกจะค่อย ๆ เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ไปจนถึงวันที่ 21 มิถุนายน จะเห็นได้ว่าแกนโลกเอียง ขั้วโลกเหนือหันเข้าหาดวงอาทิตย์มาก ทำให้ได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์มากที่สุดเช่นกัน

ซึ่งถ้าเราสังเกตจากปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในวันที่ 21 มิถุนายนนี้ ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ไปอยู่ทางซ้ายสุดของท้องฟ้า เราเรียกวันที่ 21 มิถุนายนนี้ว่า วันศรีษมายัน (Summer Solstice) (ศรีษมายัน มาจาก ศรีษม แปลว่า ร้อน อายัน แปลว่า มาถึง) ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวในวันนี้ทางซีกโลกเหนือจะเป็นฤดูร้อน และมีชั่วโมงของกลางวันมากกว่ากลางคืน จนกระทั่งวันที่ 23 กันยายน จะเป็นวันที่โลกโคจรมายังตำแหน่งของวัน ศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) ซึ่งเป็นวันที่มีชั่วโมงของกลางวันเท่ากับกลางคืนอีกครั้ง โดยแสงอาทิตย์จะอยู่ในแนวดิ่งกับเส้นศูนย์สูตรพอดี จากนั้นวงโคจรของโลกจะไปทางขวามือหรือในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาจนมาถึงวันที่ 22 ธันวาคม แสงดิ่งของดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ลงไปทางใต้สุด

เมื่อแกนโลกเอียงส่งผลให้ขั้วโลกใต้ ได้รับแสงดิ่งจากดวงอาทิตย์ ซึ่งช่วงวันดังกล่าวขั้วโลกเหนือจะมีชั่วโมงของกลางคืนมาก และขั้วโลกใต้จะมีชั่วโมงของกลางวันมาก เราเรียกวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปีว่า วันเหมายัน (Winter Solstice) (เหม แปลว่า หนาว อายัน แปลว่า มาถึง เหมายัน แปลว่า วันที่ฤดูหนาวมาถึง) จากปรากฏการณ์ดังกล่าวในวันที่ 22 ธันวาคม เราจะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นและตก เบี่ยงเบนไปทางทิศใต้ หรือที่เราเรียกว่า “ตะวันอ้อมใต้” นั่นเอง

ดวงจันทร์ (Moon) และปรากฎการณ์บนโลกอันเนื่องมาจากดวงจันทร์

การเกิดเดือน (Mounth) ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3,480 กิโลเมตร (2,160 ไมล์) มีมวลเป็น 1 ใน 8 ของโลก วิถีการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกจะเป็นวงรี ดวงจันทร์มีระยะทางห่างจากโลกโดยเฉลี่ยประมาณ 385,000 กิโลเมตร (240,000 ไมล์) วิถีการโคจรของดวงจันทร์จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา วงของวงโคจรที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด เรียกว่า เปริจี (Perigee) มีระยะทาง 356,000 กิโลเมตร (221,500 ไมล์) อัตราความเร็วของการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกจะเร็วมากที่สุดเมื่อยู่ใกล้ตำแหน่ง เปริจี (Perigee)

ส่วนช่วงของวงโคจรที่ห่างจากโลกมากที่สุด เรียกว่า อะโปจี (Apogee) มีระยะทาง 407,000 กิโลเมตร (253,000 ไมล์) อัตราความเร็วของการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกจะช้าที่สุดเมื่ออยู่ใกล้ตำแหน่ง อะโปจี (Apogee) เช่นกัน บริเวณพื้นผิวของดวงจันทร์ส่วนใหญ่เต็มไปด้วย ภูเขา ที่ราบ และหุบเหวต่างๆ จากการวิเคราะห์ตัวอย่าง แร่ หิน และดิน บนดวงจันทร์ของนักวิทยาศาสตร์ ทำให้เราทราบว่าวัตถุต่างๆ ไม่ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีออกซิเจนและน้ำ เราจึงพอสรุปได้ว่าบนดวงจันทร์ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่

การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ทำให้เกิดเดือนต่าง ๆ ได้แก่ เดือนดาราคติ (Sidereal Month) อาศัยดวงดาวเป็นตำแหน่งอ้างอิงในการหมุนรอบโลกของดวงจันทร์ พบว่า 1 รอบ ใช้เวลา 27.32166 วัน และ เดือนจันทรคติ (Synodic Month) อาศัยดวงอาทิตย์เข้ามาเกี่ยวข้องในการหมุนรอบโลกพบว่า 1 รอบ ใช้เวลา 29 1/2 วัน เดือนดาราคติมีระยะเวลาที่แน่นอนกว่า ในขณะที่เดือนจันทรคติอาศัยความสัมพันธ์ของวิถีการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยจึงทำให้ตำแหน่งของดวงจันทร์ในแต่ละวันต่างกันออกไป ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะมีความสำคัญต่อปรากฏการณ์ของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง

การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง (Tide) เกิดจากแรงดึงดูดระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดึงดูดต่อระยะทาง ซึ่งเมื่อพิจารณาพบว่าดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลกและดวงจันทร์มาก ดังนั้น อิทธิพล การเกิดน้ำขึ้น – น้ำลง จะเกิดจากดวงจันทร์มากกว่า แต่ถ้า โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันจะเกิดน้ำขึ้นและน้ำลงเป็นอย่างมาก เราเรียกว่า “น้ำมาก” (Spring Tide) ซึ่งเป็นผลมาจากน้ำเป็นของเหลวเมื่อถูกแรงดึงดูด และแรงหนีศูนย์กลางเพียงเล็กน้อยก็สามารถจะไหลถ่ายเทไปรวมกันที่จุดเดียวได้ แต่ถ้าหากดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ มีแรงดึงดูดที่กระทำต่อโลกเป็นมุม การเกิดน้ำขึ้นน้ำลงจะมีน้อยมาก เรียกว่า “น้ำตาย” (Neap Tide) ซึ่งน้ำขึ้น น้ำลง แต่ละแห่งบนโลกไม่เท่ากัน โดยเฉลี่ยขึ้นหรือลงที่ระดับประมาณ 1 – 3 เมตร

การเกิด สุริยุปราคา (Solar Eclipse) และจันทรุปราคา (Lunar Eclipse) สุริยุปราคา เกิดจากตำแหน่งร่วม (Conjunction) ของการโคจรมาอยู่ใน แนวเดียวกันของ โลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ ทำให้เงาของดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์เอาไว้ในเวลากลางวัน แต่มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะขนาดของดวงจันทร์เล็กกว่าดวงอาทิตย์มาก การเกิดสุริยุปราคามีหลายแบบ ได้แก่ สุริยุปราคาแบบวงแหวน (Annular Eclipse) เกิดเนื่องมาจากระยะห่างจากโลกไปยังดวงจันทร์ไม่แน่นอน (เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลกเป็นวงรี) เช่น ถ้าเกิดในช่วงที่ดวงจันทร์โคจรห่างจากโลกมาก เงามืดของดวงจันทร์จะทอดมาไม่ถึงโลก ทำให้บริเวณที่เงาดวงจันทร์ทอดมาบังดวงอาทิตย์เห็นเป็นรูปวงแหวน ในจำนวนการเกิดสุริยุปราคาทั้งหมดนั้น มีประมาณร้อยละ 35 ที่เกิดแบบวงแหวน ร้อยละ 5 เกิดแบบวงแหวนและเต็มดวง และร้อยละ 28 เกิดแบบเต็มดวง จันทรุปราคา (Lunar Eclipse)

เกิดจากตำแหน่งร่วม (Conjunction) ของดวงจันทร์ โลก ดวงอาทิตย์ ที่ โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้เงาของโลกบังดวงจันทร์และเนื่องจากเงาของโลกมีความยาวถึง 900,000 ไมล์ เมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเงาของโลก ทำให้คนที่อาศัยบนโลกมองเห็นจันทรุปราคาต่างๆ กันในแต่ละส่วนของพื้นที่ เช่น ถ้าดวงจันทร์โคจรผ่านมาในเงามืดทั้งดวง เรียกว่าจันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) แต่ถ้าโคจรเฉียดเงามืดจะเกิดจันทรุปราคาบางส่วน (Partial Eclipse) และถ้าโคจรผ่านเงามัวก็จะเกิดจันทรุปราคาแบบเงามัว (Penumbra Eclipse of moon)

ปรากฏภาคของดวงจันทร์บนท้องฟ้า ( Phase of the Moon) ในเวลากลางคืนเราจะเห็นดวงจันทร์ในข้างขึ้นข้างแรม ซึ่งลักษณะจะเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เราเรียกลักษณะดังกล่าวว่า “Phase of the Moon” ซึ่งจะเกิดขึ้นตลอดในเดือนทางจันทรคติ ส่วนของดวงจันทร์ที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์จะสว่าง ส่วนที่อยู่ตรงข้ามจะมืดเสมอ เดือนทางจันทรคติจะเริ่มตั้งแต่ช่วงดวงจันทร์ดับ (New Moon) ซึ่งเป็นช่วงที่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกอยู่ในตำแหน่งร่วมกัน (Conjunction) ดังนั้นส่วนของดวงจันทร์ที่มืดสนิทจะหันมายังโลก ทำให้คนบนโลกไม่สามารถเห็นดวงจันทร์ได้ในช่วงนี้ ถ้าเราสังเกตจะพบว่าช่วงนี้จะเป็นข้างแรม 15 ค่ำ หลังจากนั้นดวงอาทิตย์และดวงจันทร์จะเคลื่อนที่ไปตามวิถีการโคจรรอบโลก

โดยดวงจันทร์ จะเคลื่อนที่ไปประมาณ 1 ใน 8 ของระยะทางทั้งหมด ใช้เวลาประมาณ 4 วัน เราจะเห็นดวงจันทร์เสี้ยวขนาดเล็กปรากฏขึ้นทางขอบฟ้าทางด้านทิศตะวันตก เราเรียกวันดังกล่าวว่า ดวงจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น (The Crescent New Moon) จากนั้นอีกประมาณ 7 วัน ดวงจันทร์จะเคลื่อนที่ไปอีก ณ ตำแหน่งหนึ่ง ซึ่งเราเรียกว่า ดวงจันทร์ครึ่งซีกข้างขึ้น (Half Moon) หรือ ปรากฏภาคของดวงจันทร์เสี้ยวที่ 1 (The First Quarter) ซึ่งคนบนพื้นโลกจะเห็นดวงจันทร์สว่างครึ่งดวง จากนั้นเมื่อผ่านไปประมาณ 10 วัน เราจะเห็นภาพดวงจันทร์บนท้องฟ้าได้ถึง 3 ใน 4 ดวง เราเรียกว่า ดวงจันทร์ค่อนดวงขึ้น (Gibbous Moon) และเมื่อโคจรมาอีกเป็นเวลา 14 วัน จะเห็นดวงจันทร์เต็มดวง (Full Moon) ซึ่งเป็นช่วงที่วงโคจรของดวงจันทร์โคจรมาอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ เราจึงเห็นดวงจันทร์เต็มดวงขึ้น 15 ค่ำ พอดี หลังจากดวงจันทร์เต็มดวง คือ ดวงจันทร์จะปรากฏอยู่ทางทิศตะวันออกของท้องฟ้า หลังจากข้างขึ้นดวงจันทร์จะโคจรไปเรื่อย ๆ เข้าสู่ข้างแรม

ซึ่งเราสามารถสังเกตการเกิดข้างขึ้นและข้างแรมได้โดยง่าย คือ ในข้างขึ้นดวงจันทร์จะปรากฏทางทิศตะวันตก และเคลื่อนไปเต็มดวงที่ทิศตะวันออก ส่วนข้างแรมดวงจันทร์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และค่อย ๆ เคลื่อนที่ไปมืดสนิททั้งดวงทางทิศตะวันตกเสมอ

การกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลก และเวลาแต่ละพื้นที่ของโลกที่ไม่เท่ากัน

เนื่องจากขนาดของโลกซึ่งมีขนาดใหญ่เราจึงมีการกำหนดที่ตั้งของสถานที่ต่าง ๆ บนพื้นโลก โดยอาศัยการลากเส้น 2 ชุด คือ ละติจูด และลองติจูด โดย ละติจูด (Latitude) เป็นการกำหนดระยะทางเชิงมุมบนพื้นโลก เป็นจำนวนองศาจากจุดศูนย์กลางของโลก เมื่อนำตำแหน่งดังกล่าวมาต่อกันจะกลายเป็นแนวเส้นขนานไปกับศูนย์สูตร บางครั้งเราจึงเรียกว่า เส้นขนาดแห่งละติจูด (Parallels of Latitude) ตามปกติช่วงห่างของละติจูดแต่ละเส้นห่างกัน 1 องศา ดังนั้นจะมีทั้งหมด 180 เส้น คือ อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 90 เส้น ใต้เส้นศูนย์สูตร 90 เส้น

สำหรับค่าเฉลี่ยของระยะทาง 1 องศาละติจูดบนพื้นโลกเท่ากับ 110 กิโลเมตร (69 ไมล์) ส่วน ลองติจูด (Longitude) เป็นการกำหนดระยะทางเชิงมุมที่วัดจากศูนย์กลางของโลกในแนวนอนของเส้นศูนย์สูตรไปทางทิศตะวันออก หรือทิศตะวันตกจากเมริเดียนย่านกลาง (Prime Meridian) เมริเดียนย่านกลาง หรือ เมริเดียน 0 องศา ถูกกำหนดขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1884 โดยให้ลากผ่านหอดูดาวเมืองกรีนิช ใกล้มหานครลอนดอน ประเทศอังกฤษ ส่วนแนวเส้นเมริเดียนอื่น ๆ ะเป็นแนวรัศมีออกไปทางตะวันออก และตะวันตกข้างละ 180 องศา ซึ่ง 1 องศาลองติจูด คิด


The Nebula Song | Nebula Song for Kids | Nebula Facts | Silly School Songs


What is a nebula? This fun and catchy song will teach kids more about these amazing clouds of interstellar dust and gas.
Lyrics:
A nebula is a cloud of gas and dust in space
A gigantic bunch of particles in a distant place (making shapes that fascinate)
Created from an explosion of a dying star
You could never see it clearly with the naked eye (It’s just too far)
The word \”nebula\” is Latin for \”cloud\”
Not like the ones on Earth you see floating around
Made of water vapor, because a nebula is made of interstellar dust and gas and it’s found in outer space
So how is a nebula formed?(Girls) Some are made when a star dies others where a star is born
But either way it goes, there’s a whole lotta matter
Being shifted and scattered and thrown out and splattered
So how long does a nebula live? (Girls)
Their lifespan can last up to four million years
And they can be millions of light years wide
Splashin’ out in space like interstellar tiedye
And they don’t have much mass
A nebula the size of Planet Earth would probably weigh about as much as a cat
Or a dog, something relatively small
‘Cause dust floating in space doesn’t weigh that much at all
When it’s more than one nebula, you would say nebulae
And that’s your tip for the day!
Okay kids, we wanted to name all of the nebulae in our galaxy, but there’s over 3,000 of those beauties! So instead, we’re going to name these:
Crab Nebula
Butterfly Nebula
Horsehead Nebula
Eagle Nebula
Ring Nebula
Cat’s Eye Nebula
Orion Nebula
Helix Nebula
Tarantula Nebula
Swan Nebula
Red Spider Nebula
Medulla Nebula
Waterfall Nebula
U Cam Nebula
Red Square Nebula
Cartwheel Nebula
That’s the end of the Nebula Song
You can take a journey there but it’s really long
A telescope will help you see ’em way up high
In the night sky

Photo Credits:
NASA.gov
NASA, ESA and the Hubble Heritage (STScI/AURA)ESA/Hubble Collaboration
NASA/CXC/PSU/L.Townsley et al.; Optical: NASA/STScI; Infrared: NASA/JPL/PSU/L.Townsley et al.
http://www.eso.org/public/images/eso1403a/
By ESO/VPHAS+ team http://www.eso.org/public/images/eso1403a/, CC BY 4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=30759954 sciencesongs sillyschoolsongs nebula

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

The Nebula Song | Nebula Song for Kids | Nebula Facts | Silly School Songs

Khám phá sao Mộc (Full HD 1080p + Thuyết minh)


Là hành tinh thứ 5 trong hệ Mặt trời, sao Mộc hùng vĩ, đó cũng là chủ đề mà chúng ta sẽ khám phá trong video này.

Khám phá sao Mộc (Full HD 1080p + Thuyết minh)

ปรากฏการณ์อวกาศที่สวยงามจนน่าเหลือเชื่อ


อวกาศส่วนนอกนั้นเต็มไปด้วยสิ่งที่หายากและปรากฏการณ์ที่ทำให้ผู้คนประหลาดใจได้เสมอ และนักดาราศาสตร์ก็เจอเรื่องน่าตื่นเต้นใหม่ๆทุกวัน นิวเคลียร์ พาสต้า ดวงจันทร์ของดวงจันทร์ เนบิวล่าที่หน้าตาเหมือนผีเสื้อ และดาวที่ดูเหมือนดวงตาของเซารอนอันน่ากลัว มันมีสิ่งของแปลกๆมากมายในอวกาศ คุณเคยได้ยินเกี่ยวกับดวงดาวที่มีฝนตกเป็นแก้วหรือดาวเคราะห์น้ำแข็งที่มีไฟไหม้หรือเปล่าละ?
คุณรู้หรือเปล่าว่ามีหลุมดำขนาดจิ๋ว? (ซึ่งแตกต่างจากญาติพี่น้องขนาดมหึมาของพวกมัน จากการคาดเดา หลุดดำจิ๋วนั้นอาจจะเล็กมากๆ – เล็กพอๆกับอะตอมเลยละ) หรือเรื่องที่ว่า ห่างจากโลกไป 4000 ปีแสง มีดาวเคราะห์ที่ดูเหมือนจะเป็นก้อนเพชรขนาดใหญ่? ดาวเคราะห์ดวงนี้หนามากกว่าดาวเคราะห์ทั้งหมดที่เคยถูกค้นพบมา และส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยคาร์บอนเท่านั้น น่าสนใจใช่ไหมละ? เราไปผจญภัยดูสิ่งที่น่าตื่นตาตื่นใจและน่าแปลกประหลาดที่สุดที่เคยพบมาในอวกาศกันเถอะ!
ชีวิตสดใส
TIMESTAMPS:
นิวเคลียร์ พาสต้า 00:00
ดาวเคราะห์ที่มีฝนตกเป็นแก้ว 0:24
แบล็ควิโดว์ พัลซ่าร์ 0:55
ดาวเคราะห์น้ำแข็ง ที่มีไฟไหม้ 1:23
ดาวเคราะห์แคระ ที่มีวงแหวน 2:03
สถานรับเลี้ยงดาวฤกษ์ ในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า 2:26
ดาวเคราะห์เพชร 3:03
กระแสอินฟราเรด จากอวกาศ 3:28
จุดแดงใหญ่ บนดาวพฤหัส 3:58
ดวงตาของเซารอน 4:25
เนบิวล่าผีเสื้อ 4:56
เนบิวล่า เอสกิโม 5:33
เสาแห่งการก่อกำเนิด 6:00
กาแลคซี่ซากดึกดำบรรพ์ มีชีวิต 6:22
เนบิวล่าวงแหวน 6:57
น้ำในอวกาศ 7:20

กดติดตามช่องชีวิตสดใส https://bit.ly/3dDWYg2

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

ปรากฏการณ์อวกาศที่สวยงามจนน่าเหลือเชื่อ

Sao Mộc Bị Các Vật Thể Va Vào Nhiều Hơn Các Hành Tinh Khác


Một trong những nỗi sợ hãi lớn nhất là hành tinh chúng ta bị một tiểu hành tinh khổng lồ nào đó đâm vào. Nhưng nếu tôi nói với bạn rằng có một hành tinh trong Hệ Mặt trời bị hàng chục vật thể khá lớn va vào mỗi năm thì sao? Tại sao sao Mộc lại chịu tác động thường xuyên hơn các hành tinh khác? Hãy xem liệu có liên quan gì đến trọng lực hay kích thước của nó không nhé…
soisáng
YouTube: https://www.youtube.com/channel/UChQtq0f3T1peK2w4olNyWYw

Âm nhạc của Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
Nguồn tài liệu có sẵn (ảnh, đoạn ghi hình,…)
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

Đăng ký Soi Sáng https://bit.ly/2TPVZhq

Sao Mộc Bị Các Vật Thể Va Vào Nhiều Hơn Các Hành Tinh Khác

ความลึกลับของจักรวาลที่น่าฉงนที่สุด 10 ข้อที่เรายังไม่รู้คำตอบ


จักรวาลของเราจะถึงจุดจบเมื่อไหร่ นักดาราศาสตร์หลายคนยอมรับว่าจักรวาลอาจสิ้นสุดลงประมาณ 2,800 ถึง 22,000 ล้านปีจากนี้ เรื่องของเรื่องคือจักรวาลกำลังขยายตัว (และมันก็กำลังขยายตัวอยู่) ก็หมายความว่ามันเกิดจากสภาวะที่ค่อนข้างอัดแน่นเหมือนกรุงเทพและถ้ามันมีจุดเริ่มต้นก็น่าจะมีจุดจบด้วยเช่นกัน! แต่มันจะเกิดขึ้นได้ยังไง
แล้วจักรวาลของเรามีขอบไหม เกิดอะไรขึ้นก่อนบิ๊กแบง ทำไมเราถึงไม่รู้อะไรเกี่ยวกับสสารมืดและพลังงานมืดเลย ถ้าไม่มีหลุมดำล่ะจะเป็นยังไง เราจะหาคำตอบสำหรับคำถามที่น่าสนใจที่สุดเกี่ยวกับจักรวาลได้ไหม เรามาพูดถึงความลึกลับของจักรวาลที่นักวิทยาศาสตร์ยังคงหวังที่จะหาคำตอบให้ได้กันเถอะ

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอวกาศ จักรวาล ชีวิตสดใส

TIMESTAMPS:
ถ้าไม่มีหลุมดำล่ะจะเป็นยังไง 0:33
จะมีบิ๊กครันช์, บิ๊กริพหรือบิ๊กฟรี๊ซไหม 1:39
มีอะไรอยู่ก่อนบิ๊กแบง 3:16
ถ้าจักรวาลของเราเป็นเพียงการจำลองล่ะ 4:13
ถ้าจักรวาลมีขอบแล้วมีอะไรอยู่นอกขอบจักรวาล 4:50
ถ้าจักรวาลของเราเป็นเพียงส่วนหนึ่งของจักรวาลคู่ขนานล่ะ 5:53
พลังงานมืดคืออะไร 6:27
สสารมืดประกอบด้วยอะไรบ้าง 7:08
ทำไมดวงอาทิตย์ถึงค่อนข้าง \”ร้อนเกินไป\” 8:12
เราอยู่เพียงลำพังในจักรวาลหรือเปล่า 8:57

เคดิตภาพประกอบ
Artist’s logarithmic scale conception of the observable universe: By Unmismoobjetivo, CC BYSA 3.0 https://creativecommons.org/licenses/bysa/3.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=26788359
อนิเมชั่นจัดทำโดยชีวิตสดใส

กดติดตามช่องชีวิตสดใส https://bit.ly/3dDWYg2

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

ความลึกลับของจักรวาลที่น่าฉงนที่สุด 10 ข้อที่เรายังไม่รู้คำตอบ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เนบิวลาวงแหวน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *