[NEW] E-book-บทที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ-V.2-Flip eBook Pages 1 – 50 | คา เมน ไร เด อ ร์ โฟ เซ่ – Australia.xemloibaihat

คา เมน ไร เด อ ร์ โฟ เซ่: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

บทท่ี 2
อะตอมและสมบัตขิ องธาตุ

เรียบเรียงโดย
อาจารย์พลากร คาขวา
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ฝา่ ยมธั ยมศึกษา (ศกึ ษาศาสตร)์

25

ชือ่ -สกุล………………………………………………………………………….. ห้อง ม.4/……. Sec………
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาเคมี ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4

บทท่ี 2
อะตอมและสมบัติของธาตุ

บทนา
แบบจาลองอะตอมท่ีมีการนาเสนอต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีท้ังหมด 5 แบบ ได้แก่ แบบจาลอง
อะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน ตามลาดับ จากแบบจาลอง
อะตอม ทาให้ทราบว่าอนุภาคท่ีเป็นองคป์ ระกอบพืน้ ฐานของอะตอมมี 3 ชนิด ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน และ
อิเล็กตรอน และเมื่อทราบข้อมูลจานวนของจานวนอนุภาคท่ีกล่าวมาแล้ว จะสามารถเขียนให้อยู่ในรูป
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ซ่ึงแสดงสัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม และเลขมวล ซ่ึงนักเคมีใช้เป็นรูปแบบเดียวกัน
และเขา้ ใจตรงกนั ทั่วโลก
ธาตุท่ีถูกค้นพบในปัจจุบันทั้งพบตามธรรมชาติและสังเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ ซ่ึงได้รับการยอมรับ
จากสหภาพเคมีบริสุทธ์ิและเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) มีท้ังสิ้น 118 ชนิด และถูกจัดเป็น
หมวดหมู่ในรูปแบบของตารางพิริออดิก (Periodic Table) โดยถือกาหนดข้ึนจากแนวคิดการจัดหมวดหมู่
ของธาตดุ ้วยกฎพิรอิ อดิกของเมนเดเลเอฟ ซึ่งเป็นทยี่ อมรับและใช้มาถึงปจั จุบนั
การจัดหมวดหมู่ของธาตุในตารางธาตุปัจจุบัน ทาให้สะดวกต่อการอธิบายสมบัติของธาตุตามแนวหมู่
และแนวคาบได้ โดยสมบัติเฉพาะตัวของธาตุท้ังในรูปของอะตอมและไอออน จะอธิบายด้วยค่าต่าง ๆ เช่น
รัศมีอะตอมหรือขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกาติวิตี และสัมพรรคภาพ
อิเล็กตรอน เป็นต้น ซ่ึงสมบัติเหล่าน้ีมักจะข้ึนอยู่กับจานวนโปรตอนในนิวเคลียสและรูปแบบการจัดเรียง
อเิ ลก็ ตรอนในอะตอม

 ลองตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1. ลักษณะของข้อมลู ท่ีใชส้ นับสนุนแบบจาลองอะตอมให้มีความน่าเช่อื ถอื ควรเปน็ อยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เพราะเหตุใด จึงมีการนาเสนอแบบจาลองอะตอมในหลากหลายรูปแบบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ถ้านักเรียนเป็นผู้ค้นพบธาตุชนิดใหม่ ท่ีไม่เคยมีในตารางธาตุ จะมีหลักการจัดวางธาตุลงในตารางธาตุได้
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมท่แี ตกต่างกัน ทาใหส้ มบัตขิ องอะตอม แตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

26

ในบทนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม การทดลองที่นามาซึ่ง
การเสนอแบบจาลองแต่ละแบบ อนุภาคมูลฐานของอะตอม พลังงานคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า การจัดเรียง
อิเล็กตรอนในอะตอม วิวัฒนาการของตารางธาตุ แนวโน้มสมบัติของธาตุตามหมู่และคาบ ธาตุแทรนซิชัน
และธาตกุ ัมมนั ตรังสี ดังที่แสดงในผังมโนทศั น์

ผังมโนทัศน์

ดีโมคริตุส (Democritus) นักปราชญ์ชาวกรีก ได้เสนอแนวคิดว่า ถ้าแบ่งส่ิงต่าง ๆ ให้มีขนาดเล็กลง
เร่ือย ๆ ในที่สุดจะได้หน่วยย่อยซ่ึงไม่สามารถแบ่งให้เล็กลงได้อีก และเรียกหน่วยที่เล็กที่สุดนี้ว่า
“อะตอม (Atom)” ซ่ึงมีรากศัพท์มาจากภาษากรกี คาวา่ Atomos แปลว่า แบ่งแยกอกี ไมไ่ ด้ และเมอ่ื ความรู้
ทางวิทยาศาสตรเ์ ริ่มมีความก้าวหน้า และมีการพัฒนาเครื่องมือให้มีความทันสมัยมากขึ้น จึงได้มีการทดลอง
ต่าง ๆ เพ่ือท่ีจะอธิบายถึงโครงสร้างของอะตอมที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ และนาเสนอเป็นทฤษฎี
แบบจาลองอะตอม ทีใ่ ชใ้ นการอธิบายสมบัตติ ่าง ๆ ของธาตมุ าจนถึงปจั จบุ ัน ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

27

2.1 แบบจาลองอะตอม

2.1.1 แบบจาลองอะตอมของดอลตนั
ประมาณ พ.ศ. 2346 เซอร์ จอห์น ดอลตัน (Sir John Dalton) ได้เสนอทฤษฎีอะตอม เพื่อใช้

อธิบายเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงของสารก่อนและหลังทาปฏิกิริยา รวมท้ังอัตราส่วนโดยมวลของธาตุ
ท่รี วมกนั เป็นสารประกอบ ซ่ึงมีสาระสาคญั ดังน้ี

(1) อะตอมมีลกั ษณะทรงกลมตัน มขี นาดเล็ก แบง่ แยกและทาใหส้ ูญหายไมไ่ ด้
(2) อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีสมบัติเหมือนกัน เช่น มวลเท่ากัน แต่จะต่างจากอะตอม
ของธาตุอ่ืน
(3) สารประกอบ เกดิ จากอะตอมของธาตุมากกวา่ 1 ชนิด ในอตั ราส่วนที่เปน็ เลขลงตวั น้อย ๆ
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน แสดงดงั รปู ที่ 2.1

รปู ที่ 2.1 แบบจาลองอะตอมของดอลตนั

QR code ลิงก์แหลง่ เรยี นร้อู อนไลน์
ภายใตโ้ ครงการ Project 14 ของ สสวท.

เรือ่ ง แบบจาลองอะตอมของดอลตนั

การค้นพบรงั สแี คโทด
ในปี พ.ศ. 2375-2462 เซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) นักวิทยาศาสตร์
ชาวอังกฤษ ได้สร้างชุดการทดลองท่ีเรียกว่า หลอดปล่อยประจุครูกส์ (Crookes tube) ซ่ึงประกอบด้วย
หลอดแก้วสุญญากาศ (ท่ีจริงแล้วมีการบรรจุแก๊ส แต่มีความดันต่ามาก ๆ จนเกือบเป็นสุญญากาศ) ข้างใน
มีโลหะ 2 แผ่นเรียกว่า อิเล็กโทรด (Electrode) ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้าด้านหน่ึงความต่างศักย์สูง
เป็นขั้วบวก เรียกว่า แอโนด (Anode) อกี ด้านต่อกับความต่างศักยต์ ่าเป็นข้วั ลบ เรียกว่า แคโทด (Cathode)
และมีฉากก้ันกลางระหว่างสองข้ัว เม่ือต่อครบวงจร จะเกิดการเรืองแสงข้ึน โดยลาแสงพุ่งจากแคโทดไปยัง
แอโนด และเกิดเงากระดาษท่ีฉากด้านหลัง น่ันแสดงให้เห็นว่า ลาแสงท่ีเกิดขึ้นนี้เดินทางเป็นเส้นตรง
และไม่สามารถทะลุผ่านกระดาษได้ ครูกส์ เรียกลาแสงนี้ว่า “รังสีแคโทด” (Cathode ray) และเรียก
หลอดนีว้ ่า “หลอดรังสแี คโทด” (Cathode ray tube) ดังรูปที่ 2.2

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

28

ศึกษาการทดลองเพิม่ เติม
โดยสแกน QR code

รปู ท่ี 2.2 หลอดรงั สแี คโทด ตามการทดลองของ เซอร์ วลิ เลยี ม ครกู ส์

ดดั แปลงรปู จาก : https://www.pinterest.com/pin/408068416207935088/?nic_v2=1a6sMiYy6

นอกจากนั้น ยังมีการดัดแปลงหลอดรังสี ดังรูปท่ี 2.3 โดยการนากังหันขนาดเล็กไปวางขวาง
ลารังสีแคโทด พบว่า กังหันน้นั หมุนได้ นน่ั หมายความว่า จะต้องมีอนุภาคท่ีมมี วลมากระทบที่กังหัน แสดงว่า
รังสีแคโทดน้ัน ประกอบด้วยอนุภาคท่ีมีมวล กล่าวโดยสรุปคือ รังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุ
เปน็ ลบและมมี วล

ศกึ ษาการทดลองเพ่มิ เติม
โดยสแกน QR code

รปู ท่ี 2.3 หลอดรงั สแี คโทด ที่ถูกดดั แปลงโดยการใสก่ ังหนั วางขวางรงั สีแคโทด

ดดั แปลงรปู จาก : https://sites.google.com/site/khemikhrupanpan/bth-thi1/william-crookes

การค้นพบอนภุ าคโปรตอน
ปี พ.ศ. 2429 ออยเกน โกลด์ชไตน์ (Eugen Goldstein) ได้ดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด ดังรูป
ท่ี 2.4 โดยข้ัวแคโทดและข้ัวแอโนดถูกเจาะรู และวางอยู่ตรงกลางหลอด เพ่ิมฉากเรืองแสงท่ีปลายหลอดรังสี
แคโทดทั้งสองด้าน เม่ือบรรจุแก๊สไฮโดรเจน (ปริมาณเล็กน้อย) ในหลอดรังสีแคโทด แล้วให้ความต่างศักย์
10,000 โวลต์ แก่ข้ัวไฟฟ้าท้ังสอง พบวา่ ขัว้ แคโทดจะปล่อยอเิ ล็กตรอนออกมา เม่ืออเิ ล็กตรอนเหล่านั้นชนกับ
อะตอมของแก๊สไฮโดรเจนจะทาให้อิเล็กตรอนของไฮโดรเจนหลุดออก อะตอมไฮโดรเจนจึงกลายเป็น
อนภุ าคที่มีประจุบวก และถูกดงึ ดดู โดยขว้ั แคโทด (ขั้วลบ) ไปตกกระทบยังฉากเรืองแสงดา้ นหลงั ข้ัวแคโทด

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

29

รปู ที่ 2.4 หลอดรังสีแคโทด ตามการทดลองของออยเกน โกลด์ชไตน์

ไฮโดรเจนอะตอม ( 1 H) ประกอบด้วย 1 อิเลก็ ตรอนและ 1 โปรตอน ซ่ึงประจุไฟฟ้าบวกเท่ากับ
1

ประจไุ ฟฟ้าลบ เม่ืออนภุ าคลบหลุดออก จึงทาให้เหลือเพยี งอนภุ าคบวกในอะตอมน้นั ต่อมาเรียกอนุภาคบวก

ตัวน้ีว่า โปรตอน (Proton) และเม่ือทาการทดลองกับแก๊สชนิดอื่น ๆ ท่ีไม่ใช่ไฮโดรเจน พบว่า อัตราส่วน

ประจุบวกต่อมวลไม่คงที่ (แกส๊ ต่างชนิด อตั ราสว่ นประจตุ ่อมวลไมเ่ ท่ากัน) น่ันหมายความว่า แก๊สตา่ งชนดิ กัน

จะมีจานวนโปรตอนไมเ่ ท่ากนั

การค้นพบประจุบวก หรือ โปรตอนน้ี แสดงให้เห็นว่า อะตอมยังสามารถแบ่งแยกได้อนุภาคท่ีเล็กลงไปอีก

ซง่ึ ขัดแยง้ กับแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ท่กี ล่าววา่ “อะตอมมขี นาดเล็ก แบง่ แยกไมไ่ ด้”

2.1.2 แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
ประมาณ พ.ศ. 2440 เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสนั (Sir Joseph John Thomson) ได้ดัดแปลง

หลอดรังสีแคโทด โดยเจาะรูเฉพาะข้ัวแอโนด (ข้ัวบวก) และเพ่ิมสนามไฟฟ้า โดยต่อข้ัวไฟฟ้าบวกและลบใน
แนวดิ่ง (ดังรูปท่ี 2.5) พบว่า ลารังสีเบนเข้าหาขั้วบวก แสดงว่า รังสีนั้นมีองค์ประกอบของอนุภาคท่ีมีประจุ
ไฟฟ้าเป็นลบ ทอมสันทดลองเปลยี่ นชนิดของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด ก็ยังคงได้ผลเช่นเดิม แสดงว่า อะตอม
ทุกชนิดมีอนภุ าคทมี่ ีประจุลบเปน็ องค์ประกอบ เรียกอนุภาคนว้ี า่ “อิเล็กตรอน” (Electron)

คาว่า Electron มีรากศัพท์มาจากคาว่า “Elektron” ในภาษากรีก มีความหมายว่า อาพัน
ซึ่งเป็นฟอสซิลสีเหลืองทองที่เกิดจากยางของต้นไม้ โดยมีที่มาจากนักวิทยาศาสตร์ช่ือ George Johnstone
Stony ท่ีค้นพบหน่วยท่ีเล็กที่สุดของประจุไฟฟ้า เม่ือปี พ.ศ. 2434 โดยเขาตั้งช่ืออนุภาคนั้นว่า Electron
และอีกประมาณ 6 ปีต่อจากน้ัน เซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน ได้ค้นพบอนุภาคท่ีมีประจุลบในรังสีแคโทด
ซ่ึงเบากว่าอะตอมไฮโดรเจนมากกว่า 1000 เท่า เขาต้ังชื่ออนุภาคนี้ว่า Corpuscale และยังพบว่า อนุภาคน้ี
เป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุดที่และเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของทุกอะตอม อนุภาคนี้เป็นที่รู้จัก
อย่างกวา้ งขวางในเวลาต่อมาและนยิ มเรียกกันวา่ อิเล็กตรอน ต้ังแตเ่ วลานั้นมาจนถึงปจั จบุ นั

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

30

รูปที่ 2.5 หลอดรังสีแคโทด ตามการทดลองของเซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน

ดัดแปลงรปู จาก : http://study.com/cimages/multimages/16/thomsonexperiment2.png

จากการทดลองของทอมสัน จึงได้เสนอแบบจาลองอะตอม ซึง่ มีสาระสาคัญ ดังน้ี
(1) อะตอมเป็นรปู ทรงกลม
(2) เน้อื อะตอมเป็นประจบุ วกหรอื โปรตอน มีประจุลบหรืออเิ ลก็ ตรอน กระจายอยู่ทว่ั ไป
(3) อะตอมในสภาพเป็นกลาง จานวนประจบุ วกเทา่ กบั ประจลุ บ
ดังแสดงในรปู ที่ 2.6

รูปท่ี 2.6 แบบจาลองอะตอมของทอมสัน (แสดงภาพตัดขวาง)

แบบจาลองอะตอมของทอมสัน ไม่สามารถบอกได้ว่า ประจุบวกท่ีเป็นเน้ืออะตอมน้ันจะยึดกันอย่างไร
จงึ อยู่อย่างต่อเน่ืองได้ และในเวลาต่อมาก็ไม่สามารถอธิบายโครงสร้างอะตอมได้อยา่ งครอบคลุม

2.1.3 แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์
ประมาณ พ.ศ. 2454 ลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอรฟ์ อร์ด (Lord Ernest Rutherford) และ ฮนั ส์

ไกเกอร์ (Hans Geiger) ทาการทดลองยิงรังสแี อลฟา (มปี ระจบุ วก) ไปยงั แผน่ ทองคาบาง ดังรปู ที่ 2.7 พบวา่
– รังสีแอลฟาสว่ นใหญ่ทะลผุ า่ นแผ่นทองคา แสดงวา่ ภายในอะตอมมีทว่ี า่ งมาก
– รังสีแอลฟาบางส่วนเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง แสดงว่า รังสีแอลฟาเฉียดประจุบวก
และถูกผลัก

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

31

– รังสีแอลฟาสว่ นน้อยสะท้อนกลับ แสดงว่า รังสแี อลฟาไปชนกับกลุ่มอนภุ าคทมี่ ปี ระจุบวก
(นิวเคลยี ส) ภายในอะตอม ซง่ึ มขี นาดเลก็ มาก ๆ เมอื่ เทยี บกับขนาดอะตอม เพราะเกิดการ
สะท้อนกลบั นอ้ ยมาก

รปู ที่ 2.7 การทดลองยงิ อนุภาคแอลฟาผ่านแผน่ ทองคาบาง
(a) การจัดอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการทดลอง (b) ภาพขยายแนวเส้นรังสแี อลฟาพุง่ ไปยงั แผน่ ทองคา

ดัดแปลงรปู จาก : http://1.bp.blogspot.com/_vBq-CxO_HVw/TKpf5h5y-0I/AAAAAAAAABE/nu-vgtWqJak/s1600/FG02_05.JPG.jpeg

จากการทดลองดังกลา่ ว รัทเทอรฟ์ อรด์ จงึ เสนอแบบจาลอง โดยมีสาระสาคญั ดังน้ี
(1) อะตอมประกอบดว้ ยนิวเคลยี สทีม่ ขี นาดเลก็ มากอยู่ตรงกลางและมีประจไุ ฟฟา้ เปน็ บวก
(2) มอี เิ ล็กตรอนทีม่ ปี ระจไุ ฟฟ้าเปน็ ลบ โคจรอยูร่ อบ ๆ
ดังรูปที่ 2.8

รปู ที่ 2.8 แบบจาลองอะตอมของรทั เทอร์ฟอร์ด
การค้นพบอนภุ าคนิวตรอน
รัทเทอร์ฟอรด์ ยังได้เสนอความคิดว่า นิวเคลียสคงต้องประกอบขึ้นจาก โปรตอนกับ “คู่เหมือน
ที่เป็นกลาง” (Neutral doublet) เพราะการตรวจวัดมวลของอะตอมชี้ว่า อะตอมทุกชนิด (ยกเว้น
ไฮโดรเจน) ล้วนมีเลขมวลมากกว่าเลขประจุ และเป็นเลขจานวนเต็มทั้งสิ้น ดังนั้นจึงเชื่อได้ว่า นิวเคลียสของ
อะตอมคงต้องประกอบขึ้นด้วยอนุภาคหลายอย่างท่ีมีมวลเท่า ๆ กัน และเรียก “คู่เหมือนท่ีเป็นกลาง” นี้ว่า
“นิวตรอน” (Neutron) แต่การค้นหานิวตรอนทาได้ยากมาก เน่ืองจากมันไม่มีประจุจึงไม่เกิดการผลัก

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

32

ในสนามไฟฟ้า ทาให้มีการทะลุทะลวงได้ดีกว่าโปรตอนเป็นอย่างมาก รัทเทอร์ฟอร์ดจึงมอบหมายหน้าท่ี

การคน้ หานิวตรอนใหก้ ับผ้ชู ว่ ยของเขา นน่ั คือ เซอร์ เจมส์ แชดวิก (Sir James Chadwick)

ปี พ.ศ. 2475 เซอร์ เจมส์ แชดวิก ทาการทดลองโดยใช้รังสีแอลฟาจากพอโลเนียม (Po)

ระดมยิงเข้าไปชนกับนิวเคลียสของเบริลเลียม (Be) ทาให้เกิดการแปรธาตุเป็นคาร์บอน (C) และปล่อย

นิวตรอน ( 1 n) ออกมา 1 อนุภาคต่อการชนแต่ละครั้ง และนิวตรอนที่เกิดขึ้นไปชนอะตอมไฮโดรเจน
0

ในพาราฟิน เกิดเป็นโปรตอนอิสระหลุดออกมา จึงสามารถตรวจวัดสัญญาณได้ ดังรูปที่ 2.9 และเมื่อเปล่ียน

จากเบริลเลียมเป็นธาตุอ่ืน ๆ เช่น ไนโตรเจน โบรอน ออกซิเจน อาร์กอน เป็นต้น ก็ยังตรวจพบอนุภาค

นิวตรอนเช่นเดียวกัน ผลงานการค้นพบอนุภาคนิวตรอนชิ้นน้ีทาให้แชดวิก ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

เมือ่ พ.ศ. 2478

รปู ท่ี 2.9 การทดลองท่ีค้นพบอนภุ าคนวิ ตรอนของ เซอร์ เจมส์ แชดวกิ

ดดั แปลงรปู จาก: http://www.scimath.org/images/uploads/upload2/009.jpg

การค้นพบอนุภาคนิวตรอน ทาให้แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดถูกปรับเปล่ียนไป
เล็กน้อย (รูปท่ี 2.10) ทาให้อะตอมมีองค์ประกอบครบสมบูรณ์ ได้แก่ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
ซง่ึ เรยี กรวมกันว่า อนภุ าคมูลฐานของอะตอม และจะกล่าวรายละเอยี ดในหวั ข้อต่อไป

รูปที่ 2.10 แสดงการปรับเปล่ียนแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์ หลังการค้นพบอนุภาคนวิ ตรอน

แ บ บ จ า ล อ งอ ะต อ ม ข อ งรั ท เท อ ร์ ฟ อ ร์ ด ไม่ ได้ อ ธิ บ า ย ว่ า อิ เล็ ก ต ร อ น ร อ บ นิ ว เค ลี ย ส อ ยู่ ใน ลั ก ษ ณ ะ ใด
จงึ มีนกั วทิ ยาศาสตรค์ นอน่ื ๆ หาวิธีทาการทดลองเพ่อื รวบรวมข้อมลู เพ่มิ เติม

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

33

2.1.4 แบบจาลองอะตอมของโบร์
ประมาณ พ.ศ. 2456 นีลส์ โบร์ (Niels Bohr) ได้เริ่มทาการศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของ

ธาตุไฮโดรเจน โดยการบรรจุแก๊สไฮโดรเจนในหลอดแก้ว และให้ความต่างศักย์ไฟฟ้า ผลการทดลองพบว่า
มกี ารเปล่งแสงออกมา และเมื่อแสงน้ันผ่านปรซิ ึม จะเห็นเส้นสเปกตรัมบนฉากรับภาพซึ่งสามารถมองเห็นได้
จานวน 4 เส้น (ในช่วงคล่ืนท่ีมองเห็นได้) ท่ีมีสีและตาแหน่งแตกต่างกัน ได้แก่ สีม่วง สีน้าเงิน สีเขียว และ
สแี ดง ท่ีความยาวคลืน่ 410 434 486 และ 658 นาโนเมตร ตามลาดบั ดงั รปู ที่ 2.11

รปู ท่ี 2.11 การทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตไุ ฮโดรเจน

ดดั แปลงรปู จาก: https://readingpenrose.files.wordpress.com/2015/01/prism_5902760665342950662.png

จากผลการทดลอง สามารถแปลความหมายได้ว่า การท่ีอะตอมของธาตุไฮโดรเจน ซึ่งมี
อิเลก็ ตรอนเพยี ง 1 อนุภาคแตส่ ามารถทาให้เกดิ เสน้ สเปกตรัมได้มากกว่า 1 เส้น และเมอ่ื ทดลองซา้ ๆ ก็ยังได้
สเปกตรัมตรงตาแหน่งเดิมนั้น แสดงว่า อิเล็กตรอนที่เคล่ือนที่รอบนิวเคลียสนั้นมีระดับพลังงานเฉพาะตัว
ซ่ึงจะอยู่ในระดบั ท่ีต่าเมื่ออะตอมอยู่ในสภาวะปกติ เรียกว่า สถานะพ้ืน (Ground state) แต่เม่ืออะตอมได้รับ
พลังงาน อิเล็กตรอนจะเคล่ือนที่ไปยังสภาวะใด ๆ (อาจมีมากกว่า 1 ระดับ ข้ึนกับพลังงานที่ได้รับ) ที่มี
พลังงานสูงกว่าสถานะพน้ื ซึ่งเรยี กวา่ สถานะกระตุ้น (Excited state) สถานะนอี้ ะตอมจะมเี สถียรภาพตา่ ลง
กว่าสภาวะปกติ ดังน้ัน อะตอมจึงต้องลดพลังงานลง โดยอิเล็กตรอนที่อยู่ในสถานะกระตุ้น (พลังงานสูง) จะ
เคลื่อนที่กลับไปยังสถานะพื้น (พลังงานต่า) จึงมีการคายพลังงานออกมาในรูปของแสง (ซ่ึงเป็นคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า) และเมื่อผ่านอุปกรณ์แยกแสง ก็จะสามารถแยกแสงออกเป็นสีต่าง ๆ ตามความแตกต่างของ
ระดับพลงั งาน ท่ีเรียกว่า สเปกตรมั น่นั เอง

 การคานวณเก่ยี วกับพลงั งานของสเปกตรัม (คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า) จะอธิบายในหวั ข้อท่ี 2.3

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

34

จากการทดลองดังกลา่ ว โบรจ์ งึ เสนอแบบจาลอง โดยมีสาระสาคัญดงั นี้
(1) อเิ ล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนิวเคลียส เปน็ วงคล้ายวงโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์
(2) วงโคจรแต่ละวง มรี ะดบั พลังงานเฉพาะตวั (อเิ ลก็ ตรอนหมุนรอบนิวเคลียสด้วยโมเมนตมั
เชิงมมุ ท่ีมคี า่ แนน่ อน)
(3) ระดับพลงั งานของอเิ ล็กตรอนท่ีอยู่ใกลน้ วิ เคลียสทส่ี ุด จะมพี ลังงานตา่ ทีส่ ุด
(4) ระดบั พลงั งานท่ี 1 2 3 … นับจากนวิ เคลียส ใชส้ ญั ลกั ษณ์แทนเป็น K L M … ตามลาดบั
(5) ระดับพลงั งานต่าจะอย่หู า่ งกัน แตร่ ะดับพลังงานยิ่งสูงขนึ้ จะยง่ิ อย่ชู ิดกนั มากขนึ้
ดงั รูปท่ี 2.12

รูปที่ 2.12 แบบจาลองอะตอมของโบร์

แบบจาลองอะตอมของโบร์ อธิบายได้ดีกับสเปกตรัมของไฮโดรเจน ซึ่งมีเพียง 1 อิเล็กตรอน แต่มีข้อจากัด
สาหรบั การอธบิ ายสเปกตรมั ของอะตอมท่ีมหี ลายอเิ ล็กตรอน

2.1.5 แบบจาลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอกอิเล็กตรอน
ประมาณปี พ.ศ. 2469 มีข้อสรุปเก่ียวกับอิเล็กตรอนว่า มีสมบัติเป็นทั้งอนุภาคและคล่ืน

จากแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ท่ีช่ือว่า เออร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) โดยอิเล็กตรอนจะ
เคล่ือนที่รอบนิวเคลียสในลักษณะของคล่ืนน่งิ บริเวณท่ีพบอิเล็กตรอนพบได้หลายลักษณะ เป็นรูปทรงตา่ ง ๆ
ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอน มีคาเรียกเฉพาะว่า “ออร์บิทัล (Orbital)” ซึ่งเป็นการนาความรู้
ทางกลศาสตร์ควอนตัมมาสร้างสมการขึ้นเพื่อคานวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่าง ๆ

แบบจาลองอะตอมแบบกล่มุ หมอกอเิ ล็กตรอน มสี าระสาคญั ดังน้ี
(1) อเิ ล็กตรอนมีสมบตั ิเปน็ ทั้งอนภุ าคและคลื่น
(2) อิเลก็ ตรอนเคลือ่ นทีเ่ รว็ ตลอดเวลาไปทัว่ ทั้งอะตอม จึงไมส่ ามารถบอกตาแหนง่ ที่แน่นอนได้
(3) บริเวณใกล้ ๆ นิวเคลียส จะมีกลุ่มหมอกทึบ มีโอกาสพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณท่ีมี
กลุ่มหมอกจาง ซงึ่ อยูห่ ่างจากนิวเคลียสออกมา ดงั รปู ท่ี 2.13

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

35

รปู ท่ี 2.13 แบบจาลองอะตอมแบบกล่มุ หมอกอเิ ล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจน

ทีม่ าของรปู : https://www.pngkey.com/download/u2e6q8r5i1e6a9w7_transparent-electron-cloud-model

ณ ปัจจุบัน แบบจาลองน้ี สามารถใช้อธิบายสมบัติต่าง ๆ ของอะตอมได้อย่างกว้างขวาง แต่ก็
ยังไมม่ ีข้อยุตใิ นการศึกษาทดลอง เพราะความรทู้ างวทิ ยาศาสตรน์ ้นั ยงั มีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองตลอดเวลา

QR code ลงิ กแ์ หล่งเรียนร้อู อนไลน์
ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท.
เรือ่ ง แบบจาลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอกอเิ ลก็ ตรอน

2.2 อนภุ าคมูลฐานของอะตอมและไอโซโทป

2.2.1 ความรู้ทัว่ ไปเกยี่ วกบั อนุภาคมลู ฐาน
จากหัวข้อท่ี 2.1 เก่ียวกับวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอมทั้ง 5 แบบ สามารถสรุปได้ว่า

อะตอมมอี งคป์ ระกอบพ้ืนฐานท่ีเรียกว่า อนุภาคมูลฐานของอะตอม จานวน 3 ชนิด ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน
และอิเล็กตรอน

ในทางเคมี คาว่า อนภุ าคมูลฐาน มักจะถูกนิยามว่า เป็นอนุภาคท่ีเล็กที่สุดในอะตอมท่ีแบ่งแยก
ย่อยอีกไม่ได้ ซึ่งก็เข้าใจกันว่า คือ โปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน แต่ในทางฟิสิกส์ ได้มีการค้นพบ
อนุภาคท่ีขนาดเล็กกว่าโปรตอนและนิวตรอน น่ันคือ ควาร์ก (Quark) เมื่อปี ค.ศ. 1964 (พ.ศ. 2507)
โดยนักวิทยาศาสตร์ช่ือ Murray Gell-Mann และ George Zweig ได้ทาการทดลองยิงอนุภาคโปรตอน
ความเร็วสูงไปชนกันใหแ้ ตกสลาย การพบอนุภาคดังกล่าว ทาให้ Gell-Mann ไดร้ ับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
ในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512)

ควาร์กท่ีถูกค้นพบมีทั้งหมด 6 ตัว คือ Up quark, Down quark, Strange quark, Charm
quark, Bottom quark และ Top quark โดยนิวตรอนและโปรตอนเกิดจากการรวมกนั ของควารก์ นิวตรอน
ประกอบด้วย Up quark 1 ตัว และ Down quark 2 ตัว ส่วนโปรตอนประกอบด้วย Up quark 2 ตัว และ
Down quark 1 ตัว และควาร์กเป็นอนุภาคที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก มีขนาด 10‒15 nm นอกจากน้ัน

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

36

ยังมีอนุภาคกลูออน (Gluon) ที่นาพาแรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเช่ือมอนุภาคควาร์กเข้าด้วยกัน (ทาให้ควาร์ก
ไม่แยกเปน็ อสิ ระ) ดงั รูปท่ี 2.14

รปู ที่ 2.14 แสดงองค์ประกอบของควาร์กในนวิ ตรอนท่ีอยู่ในนิวเคลยี สของอะตอม

ทมี่ าของรปู : http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/atom/atom1.gif

อย่างไรก็ตาม การกล่าวถึง “อนุภาคมูลฐานของอะตอม” ในวิชาเคมีน้ัน ยังคงกล่าวถึงเพียง
อนุภาค 3 ชนดิ ได้แก่ โปรตอน นิวตรอน และ อเิ ล็กตรอน ซึง่ มสี มบัติ ดังตารางท่ี 2.1

ตารางท่ี 2.1 แสดงสมบัตบิ างประการของอนุภาคมลู ฐานท้ัง 3 ชนดิ

อนภุ าค สญั ลักษณ์ ประจุไฟฟ้า (คลู อมบ์) ชนิดประจไุ ฟฟ้า มวล (กรัม)

อิเล็กตรอน e หรอื e- 1.602 x 10–19 ลบ 9.109 x 10–28
โปรตอน p หรอื p+ 1.602 x 10–19 บวก 1.673 x 10–24
นวิ ตรอน n หรือ n0 ไม่มปี ระจุ (เปน็ กลาง) 1.675 x 10–24
0

2.2.2 การทดลองเกย่ี วกบั ประจแุ ละมวลของอเิ ล็กตรอน
2.2.2.1 การหาคา่ ประจุต่อมวล (e/m) ของทอมสัน
หลักการ คือ เม่ือรังสีแคโทดอยู่ในสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็ก รังสีจะเบนไปจากแนวเดิม

โดยรังสีจะเบนเข้าหาขั้วใต้ของสนามแม่เหล็ก (จุด A) และเบนเข้าหาข้ัวบวกของสนามไฟฟ้า (จุด C) ดังน้ัน
จึงปล่อยลารังสีผ่านสนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็ก แล้วใช้อีกสนามหน่ึงมาปรับให้รังสีเบนกลับเป็นเส้นตรง
เหมือนเดมิ (จดุ B) ดังรปู ที่ 2.15

ศึกษาการทดลองเพิ่มเติม
โดยสแกน QR code

รูปท่ี 2.15 แสดงการดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด เพ่ือหาค่า e/m ของอเิ ลก็ ตรอน

ดดั แปลงรปู จาก : Raymond Chang, 2010

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

37

แรงผลักจากสนามไฟฟ้าจะบอกว่ามีประจุลบอยู่เท่าใด ส่วนแรงผลักจากสนามแม่เหล็กนั้น
จะบอกวา่ อนภุ าคมีมวลเทา่ ใด จงึ หาคา่ ในรูปของอัตราสว่ นประจุตอ่ มวลของอเิ ล็กตรอน (e/m) ได้

ข้อสรุป
(1) อิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบร่วมท่ีพบในอะตอมของธาตุทุกชนิด เพราะเมื่อทดลองซ้า
โดยเปล่ียนชนิดของโลหะท่ีใช้เป็นข้ัวแคโทด และเปล่ียนชนิดของแก๊สที่บรรจุ พบว่า ผลการทดลองยังเป็น
เช่นเดมิ
(2) อัตราส่วนประจตุ ่อมวลของอเิ ลก็ ตรอน เท่ากบั 1.76 x 108 คลู อมบ์ต่อกรัม

2.2.2.2 การทดลองหยดนา้ มันของมิลลแิ กน เพื่อหาประจไุ ฟฟ้าของอเิ ลก็ ตรอน
หลักการ คือ การสเปรย์น้ามันให้เป็นละออง โดยใช้ตัวทาละออง (Atomizer) ละอองน้ามันท่ี
เกิดขึ้นมีจานวนมาก แต่จะผ่านรูเล็ก ๆ บนขั้วไฟฟ้าบวกลงไปได้จานวนไม่มากนัก (ในรูปที่ 2.16 สมมติให้
เห็น 1 ละออง) ในขณะเดียวกันจะฉายรังสีเอ็กซ์ ทาให้อากาศภายในนั้นแตกตัวเป็นอนุภาคบวก (ไอออน
บวก) และอนุภาคลบ (อิเล็กตรอน) ไอออนบวกและอิเล็กตรอนท่ีเกิดข้ึนจะไปเกาะท่ีหยดน้ามัน ทาให้
หยดน้ามันเกิดมีประจุ อิเล็กตรอนที่ไปเกาะท่ีหยดน้ามันอาจจะไปเกาะเพียง 1 อนุภาค หรือมากกว่า
เชน่ เดยี วกับไอออนบวกก็ไปเกาะท่ีหยดน้ามนั ได้เชน่ กัน
เม่ือให้สนามไฟฟ้าระหว่างข้ัวไฟฟ้าท้ังสอง จะมีทั้งหยดนา้ มันที่ลอยขนึ้ ด้านบนและหยดที่ตกลง
ด้านล่าง ขั้วไฟฟ้าลบด้านล่างจะดึงดูดกับหยดน้ามันท่ีมีไอออนบวกทาให้เคล่ือนที่ลง และข้ัวไฟฟ้าบวก
ด้านบนจะดึงดูดกับหยดน้ามันท่ีมีอิเล็กตรอนเกาะอยู่ให้ลอยขึ้นไป แรงดึงดูดน้ีเรียกว่า “แรงเน่ืองจาก
สนามไฟฟ้า” ในขณะเดียวกัน หยดน้ามันก็มีมวล จึงมีแรงอีกชนิดหน่ึงมากระทาในทิศทางตรงข้าม น่ันคือ
“แรงเน่ืองจากแรงดึงดูดของโลก” เม่ือปรับค่าสนามไฟฟ้าจนกระท่ังหยดน้ามัน (ท่ีมีอิเล็กตรอนเกาะอยู่)
ลอยนิ่ง (มองดูผ่านกล้อง) แสดงว่า แรงกระทาต่อหยดน้ามัน อันเน่ืองมาจาก แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า
เทา่ กบั แรงเนื่องจากแรงดงึ ดูดของโลก จึงสามารถนามาคานวณคา่ ของประจไุ ฟฟ้าของอิเลก็ ตรอนได้

รปู ที่ 2.16 การทดลองหยดน้ามันของมิลลแิ กน เพอ่ื หาประจไุ ฟฟ้าของอเิ ล็กตรอน

ดัดแปลงรปู จาก : http://www.learner.org/courses/chemistry/images/text_img/millikan_oil_drop.jpg

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

38

ถา้ E = สนามไฟฟา้
q = ประจุไฟฟา้ บนหยดนา้ มัน (กรณนี ี้คอื ประจุลบของอิเลก็ ตรอน)
F1 = แรงเนื่องจากสนามไฟฟา้ ต่อหยดน้ามัน จะได้ว่า F1 = Eq

ถา้ m = มวลของหยดนา้ มนั
g = คา่ คงที่ของแรงดงึ ดูดของโลก
F2 = แรงเนอื่ งจากแรงดึงดูดของโลกต่อหยดนา้ มัน จะไดว้ ่า F2 = mg

เมอ่ื พจิ ารณาหยดน้ามันท่ีลอยนง่ิ หยดใดหยดหนง่ึ จะได้วา่
F1 = F2 หรือ mg = Eq หรือ q = mg/E

ค่า E และ g สามารถหาได้จากเคร่ืองมือท่ใี ช้ สว่ น m ซึ่งเปน็ มวลของหยดนา้ มนั หาไดจ้ ากสตู ร
m = (4/3) r3d

เมือ่ r = รัศมขี องหยดนา้ มัน
d = ความหนาแน่นของน้ามนั

จะเหน็ ไดว้ ่า คา่ m , g และ E สามารถหาได้ ดังนัน้ จึงคานวณประจทุ ่ีอย่บู นหยดน้ามันได้

จากการทดลองพบว่าประจุที่อยู่บนหยดน้ามันนั้นมีค่าเท่ากับ 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ หรือเป็น
จานวนเท่าของ 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ เช่น 2 x 1.60 x 10-19 , 3 x 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ เป็นต้น แสดงว่า
จานวนประจทุ ่ีอยบู่ นหยดน้ามนั ท่มี คี ่านอ้ ยท่สี ดุ คอื 1.60 x 10-19 คลู อมบ์

ค่าของประจุ 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ จึงเปน็ ค่าประจุของอเิ ล็กตรอน 1 อนภุ าค กลา่ วคือ
ถ้ามี 1 อิเล็กตรอน เกาะบนหยดน้ามัน จะได้ประจุ = 1.60 x 10-19 คูลอมบ์
ถา้ มี 2 อิเล็กตรอน เกาะบนหยดนา้ มัน จะได้ประจุ = 2 x 1.60 x 10-19 คลู อมบ์
ถ้ามี 3 อิเล็กตรอน เกาะบนหยดน้ามนั จะได้ประจุ = 3 x 1.60 x 10-19 คลู อมบ์

ดงั นน้ั จากการทดลองของมิลลิแกน ไดป้ ระจขุ องอเิ ลก็ ตรอนมีคา่ เทา่ กับ 1.60 x 1019 คูลอมบ์

จากการทดลองของทอมสัน
ไดค้ า่ ประจุต่อมวลของอเิ ลก็ ตรอน e/m = 1.76 x 108 คลู อมบ/์ กรมั

จากการทดลองของมิลลิแกน ไดค้ า่ ประจุของอิเลก็ ตรอน (e) = 1.60 x 10-19 คลู อมบ์
เพราะฉะนนั้ จึงหามวลของอิเลก็ ตรอน (m) ได้ = 9.1 x 10-28 กรมั

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

39

2.2.3 สญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์ และไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์
2.2.3.1 สัญลักษณน์ ิวเคลียร์
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ คือ สัญลักษณ์ของธาตุท่ีแสดงรายละเอียดของอนุภาคมูลฐานของ

อะตอม โดยแสดงเลขอะตอมไวต้ รงมุมลา่ งซา้ ย และแสดงเลขมวลไวต้ รงมมุ บนซา้ ย ของสัญลกั ษณ์ของธาตุ

เลขอะตอม (Z) เท่ากบั จานวนโปรตอน [เปน็ เสมือนเลขประจาตวั ของธาตุใด ๆ]
(กรณีอะตอมสภาวะเปน็ กลาง จานวนโปรตอน=จานวนอิเล็กตรอน)

เลขมวล (A) เทา่ กับ จานวนโปรตอน + จานวนนวิ ตรอน
ดงั น้ัน จานวนนวิ ตรอน = A – Z

ตวั อยา่ งแสดงดังตารางท่ี 2.2

ตารางท่ี 2.2 ตัวอย่างการเขียนสัญลกั ษณ์นวิ เคลียรแ์ ละการระบจุ านวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมบางชนดิ

สัญลกั ษณ์นวิ เคลียร์ เลขอะตอม เลขมวล จานวนโปรตอน จานวนอเิ ล็กตรอน จานวนนวิ ตรอน

23 Na 11 23 11 11 12
11

223 Fr 87 223 87 87 136
87

235 U 92 235 92 92 143
92

2.2.3.2 ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์

(1) ไอโซโทป (Isotope) คือ ธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอม (จานวนโปรตอน) เท่ากัน

แต่มเี ลขมวลและจานวนนิวตรอนต่างกนั เชน่ ธาตคุ าร์บอน มี 3 ไอโซโทป คือ 12 C 13 C 14 C
6 6 6

(2) ไอโซโทน (Isotone) คือ ธาตตุ ่างชนิดกัน (เลขอะตอมไม่เท่ากัน) แต่มีจานวนนวิ ตรอน

เทา่ กนั เชน่ 12 C กบั 11 B เป็นไอโซโทนกนั เพราะจานวนนวิ ตรอนเทา่ กัน คอื 6 อนุภาค
6 5

(3) ไอโซบาร์ (Isobar) คือ ธาตุต่างชนิดกัน (จานวนโปรตอนไม่เท่ากัน) แต่มีเลขมวล

เทา่ กนั เชน่ 13 C กับ 13 N เปน็ ไอโซบาร์กัน เพราะเลขมวลเทา่ กัน คือ 13
6 7

QR code ลิงกแ์ หลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์
ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท.
เรอ่ื ง เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

40

2.3 คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และสเปกตรมั
2.3.1 คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนท่ี จึงสามารถเคล่ือนที่
ในสญุ ญากาศได้

คณุ สมบตั ิของคล่ืนมี 2 ประการ คอื
2.3.1.1 ความยาวคล่ืน (Wavelength) หมายถึง ระยะทางท่ีคลื่นเคลื่อนท่ี ครบ 1 รอบ
มีหน่วยเป็น เมตร (m) หรอื หนว่ ยยอ่ ยของเมตร เชน่ นาโนเมตร
2.3.1.2 ความถ่ี (Frequency) หมายถึง จานวนรอบของคล่ืนท่ีผ่านจุดใดจุดหน่ึงในเวลา
1 วินาที จึงมีหน่วยเป็น จานวนรอบต่อวินาที (s–1) หรือเรียกช่ือเฉพาะว่า เฮิรตซ์ (Hz) ความยาวคลื่นและ
ความถีข่ องคลน่ื อธบิ ายไดด้ งั รูปท่ี 2.17

รปู ท่ี 2.17 ความยาวคล่นื และความถ่ี

ดัดแปลงรปู จาก: https://www.clinuvel.com/photomedicine/physics-optics-skin/electromagnetic-spectrum/understanding-
the-electromagnetic-spectrum

2.3.2 รูปแบบของสเปกตรัม
สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน และ

มีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง มีทั้งช่วงท่ีมองเห็นได้และมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า มีช่ือเรียกแตกต่างกัน
ดังรปู 2.18

รปู ท่ี 2.18 ชนดิ ของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ีมีความยาวคลื่นตา่ ง ๆ

ดดั แปลงรปู จาก: http://www.radiondistics.altervista.org/images/spectrum.jpg

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

41

แสงท่ีประสาทตาของมนุษย์สามารถรับรู้ได้ เรียกว่า แสงที่มองเห็นได้ (Visible light)
มคี วามยาวคลนื่ อย่ใู นช่วง 400 – 700 นาโนเมตร ซ่ึงประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ กัน แต่ประสาทตาของมนุษย์
ไม่สามารถแยกแสงที่มองเห็นจากดวงอาทิตย์ออกเป็นสีต่าง ๆ ได้ ทาให้มองเห็นเป็นสีรวมกันสเี ดียว เรียกว่า
แสงขาว สเปกตรมั ของธาตทุ ี่ไดจ้ ากการแยกดว้ ยอุปกรณ์แยกแสง มอี ยู่ 2 รปู แบบใหญ่ ๆ (รูปที่ 2.19) ไดแ้ ก่

2.3.2.1 สเปกตรัมต่อเน่ือง (Continuous spectrum) คือ สเปกตรัมที่ประกอบด้วยแถบสี
ท่ีค่อย ๆ กลืนกันไปจากสีหนึ่งไปยังอีกสีหนึ่ง ไม่ได้แยกเป็นเส้นอย่างชัดเจน หรืออาจจะเรียกว่า
“แถบสเปกตรัม” เช่น เมื่อให้แสงขาวผ่านอุปกรณ์แยกแสง เช่น ปริซึม หรือ เกรตติง แสงขาวจะ
แยกออกเป็นสีรุ้งต่อเน่ืองกัน เรียกว่า แถบสเปกตรัมของแสงขาว ซ่ึงปรากฏการณ์น้ีอธิบายได้ว่า เม่ือแสง
เดินทางจากต้นกาเนิดผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน จะเกิดการหักเห เนื่องจากแสงที่มีความยาวคลื่นต่างกันจะ
หักเหได้ไมเ่ ทา่ กัน ชว่ งความยาวคลน่ื ของแต่ละแถบสนี ้นั เป็นดังตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 แสดงชว่ งความยาวคลื่นของแถบสีต่าง ๆ ในสเปกตรมั ของแสงขาว

แถบสี ความยาวคลน่ื (นาโนเมตร)

สีมว่ ง 400 – 420
สคี ราม-นา้ เงนิ 420 – 490
490 – 580
สีเขยี ว 580 – 590
สีเหลอื ง 590 – 650
สีแสด (สีสม้ ) 650 – 700
สีแดง

2.3.2.2 สเปกตรัมไม่ต่อเน่ือง (Discontinuous spectrum) คือ สเปกตรัมที่ประกอบด้วย
เส้นสว่างบนพื้นมืดดา หรือ เส้นมืดดาที่ปรากฏบนพื้นของสเปกตรัมแบบต่อเนื่อง อาจเรียกว่า เส้นสเปกตรัม
(Line spectrum) ซึง่ แบง่ สเปกตรัมได้อกี 2 ลกั ษณะ คือ

(1) สเปกตรัมเปล่งแสง (Emission spectrum) เกิดจากอะตอมของธาตุได้รับการกระตุ้น
จากพลังงานไฟฟา้ หรือความรอ้ น อิเล็กตรอนภายในอะตอมเปล่ียนระดับพลังงานจากสถานะพนื้ ไปยังสถานะ
กระต้นุ และเมอื่ อิเลก็ ตรอนในสถานะกระตุ้นกลบั สสู่ ถานะพ้นื จงึ ปลดปล่อยพลังงานแสงออกมา

(2) สเปกตรัมดูดกลืนแสง (Absorption spectrum) เกิดจากการผ่านแสงขาว (ซ่ึงมีหลาย
ความยาวคลน่ื ) ผ่านอะตอมของธาตุ แสงในบางความยาวคลื่นจะถูกอะตอมดูดกลืนเอาไว้ เพื่อให้อิเล็กตรอน
ภายในอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานจากสถานะพ้ืนไปยังสถานะกระตุ้น จึงเห็นเป็นเส้นมืดดาบนแถบ
สเปกตรมั

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

42

รปู ท่ี 2.19 แสดงรปู แบบของสเปกตรัมแบบต่าง ๆ

ดัดแปลงรปู จาก: http://physicsopenlab.org/wp-content/uploads/2016/03/Spectrum.jpg

2.3.3 การคานวณพลังงานของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและได้

ข้อสรุปเกยี่ วกับความสมั พันธร์ ะหว่างพลังงานของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้ากับความถ่ขี องคลืน่ นน้ั วา่ “พลงั งานของ
คลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าจะเป็นสดั สว่ นโดยตรงกับความถีข่ องคลน่ื ” ดังนี้

Eα ν

จากความสัมพนั ธข์ า้ งต้น สามารถเขียนในรปู สมการได้ เมอ่ื นาค่าคงท่ีคา่ หน่ึงมาคณู จะได้ว่า

E = hν

เม่อื E คอื พลังงาน มหี น่วยเปน็ จูล (J)
คือ คา่ คงตวั ของพลังค์ (Planck’s constant)
h มีค่าเท่ากับ 6.625 x 10–34 จลู •วินาที (J•s)
คือ ความถี่ของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ มีหน่วยเปน็ Hz หรอื s–1
ν

นอกจากนค้ี วามถขี่ องคลื่น ยังมีความสัมพนั ธ์กบั ความยาวคลืน่ ดังนี้

ν = c
λ

เม่ือ c คือ ความเร็วของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศ ซ่ึงเท่ากับ 2.99 x 108 ms-1
(อาจใช้ 3 x 108 ms-1) และ คือ λ ความยาวคลนื่ ดังน้นั พลังงานของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า จึงมีความสมั พันธ์
กบั ความถี่และความยาวคลนื่ ดังนี้

E = hν = hc
λ

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

43

2.4 การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุนั้น อาศัยพื้นฐานความรู้จากแบบจาลองอะตอมของโบร์
ท่ีกล่าวถึงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ซึ่งได้แก่ ระดับ K, L, M, N… หรือ n=1, n=2, n=3, n=4,…
ตามลาดับ ท้ังหมดนี้จะเรียกว่า “ระดับพลังงานหลัก (Shell)” นอกจากนั้น ระดับพลังงานหลักยังถูกแบ่ง
ออกเป็น “ระดับพลังงานยอ่ ย (Subshell)” โดยเกย่ี วขอ้ งกบั แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอเิ ล็กตรอน
ที่กล่าวว่า อิเล็กตรอนมีอาณาเขตการหมุนรอบตัวเองและหมุนรอบนิวเคลียส ในทิศทางต่าง ๆ จนเกิดเป็น
รูปร่างสามมิติที่แตกต่างกัน ซึ่งถูกเรียกว่า “ออร์บิทัล (Orbital)” เปรียบเสมือน “บ้านของอิเล็กตรอน”
ประกอบไปด้วยออร์บิทัล s, p, d และ f แสดงให้เห็นว่า การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยและ
ระดับพลังงานหลัก มีความสัมพันธ์กัน ดังน้ัน หากนักเรียนเข้าใจในการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
ยอ่ ยอยา่ งถกู ต้องแล้ว ก็จะสามารถแสดงการจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งานหลักได้อยา่ งถูกต้องเช่นกัน

2.4.1 รปู ร่างของออร์บทิ ลั
2.4.1.1 รูปร่างของ s-orbital เป็นทรงกลม มี 1 แบบ (ขนาดจะใหญ่ข้ึนตามลาดับพลังงาน

หลกั ดังรปู ที่ 2.20) บรรจอุ เิ ล็กตรอนไดม้ ากท่สี ุด 2 อิเลก็ ตรอน

รปู ท่ี 2.20 รูปรา่ งของ s-orbital

ทมี่ าของรปู : https://www.ck12.org/book/CK-12-Chemistry-Concepts-Intermediate/section/5.13/

2.4.1.2 รูปร่างของ p-orbital เป็นรูปทรงคล้ายดัมเบล มี 3 แบบ คือ px py pz ดังรูปที่
2.21 บรรจุอิเลก็ ตรอนได้มากทสี่ ดุ 6 อเิ ลก็ ตรอน

รปู ท่ี 2.21 รูปรา่ งของ p-orbital

ที่มาของรปู : https://www.ck12.org/book/CK-12-Chemistry-Concepts-Intermediate/section/5.13/

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

44

2.4.1.3 รูปร่างของ d-orbital มี 5 แบบ ดังรูปท่ี 2.22 บรรจุอิเล็กตรอนได้มากที่สุด
10 อิเล็กตรอน

รูปที่ 2.22 รูปรา่ งของ d-orbital

ที่มาของรปู : https://www.ck12.org/book/CK-12-Chemistry-Concepts-Intermediate/section/5.13/

2.4.1.4 รูปร่างของ f-orbital มี 7 แบบ ดังรูปท่ี 2.23 บรรจุอิเล็กตรอนได้มากท่ีสุด
14 อเิ ล็กตรอน

รูปที่ 2.23 รปู ร่างของ f-orbital

ที่มาของรปู : https://www.ck12.org/book/CK-12-Chemistry-Concepts-Intermediate/section/5.13/

เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ จึงมักใช้ช่องส่ีเหลี่ยมแทนออร์บิทัล (แต่ละช่องบรรจุได้เต็ม
2 อิเลก็ ตรอน) ดังน้ี

s-orbital
p-orbital
d-orbital
f-orbital
ขณะทีอ่ ิเล็กตรอนหมุนรอบนิวเคลียสนั้น จะมีการหมุนรอบตัวเองไปด้วย เกิดขึ้น 2 ทิศทาง คือ
หมุนตามเข็มนาฬิกา เรียกว่า Spin up แทนด้วยสัญลักษณ์ และหมุนทวนเข็มนาฬิกา เรียกว่า
Spin down แทนด้วย
(คาวา่ spin (สปิน) เป็นคาทใี่ ชบ้ ง่ บอกลกั ษณะการหมุนรอบตวั เองของอิเลก็ ตรอน)

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

45

2.4.2 หลกั การและกฎท่ีเกยี่ วข้องกบั การจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนลงในออร์บิทัล
การบรรจุอเิ ลก็ ตรอนลงในออรบ์ ิทลั จะต้องคานึงถงึ หลกั การและกฎ 4 ข้อ ตอ่ ไปนี้
2.4.2.1 หลกั การอาฟบาว (Aufbau Principle)
การบรรจุอิเล็กตรอนต้องบรรจุในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่าสุดและว่างอยู่ก่อนเสมอ เพราะจะ

ทาให้พลงั งานรวมของอะตอมต่าทีส่ ดุ และมีความเสถียรท่ีสุด
ระดับพลังงานของออร์บิทัล สามารถเรียงลาดับจากต่าไปสูง โดยอาศัยแผนภาพด้านล่างน้ี

โดยลากเสน้ ทแยงจากมุมขวาบนลงไปยังซา้ ยล่าง ผ่านออรบ์ ิทลั ใดกอ่ น แสดงวา่ มีพลังงานต่ากว่า ดังน้ี
n = 1 1s
n = 2 2s 2p
n = 3 3s 3p 3d
n = 4 4s 4p 4d 4f
n = 5 5s 5p 5d 5f
n = 6 6s 6p 6d 6f
n = 7 7s 7p 7d 7f

เรียงลาดับพลังงานไดเ้ ป็น …………………………………………………………………………………………………………………

ข้อสังเกต : ต้ังแต่ระดับพลังงานหลัก n =3 ข้ึนไป จะมีการซ้อนเหลื่อมของระดับพลังงานย่อย เน่ืองจาก
ระดบั พลังงานหลกั ที่อยูถ่ ดั กัน จะชิดกันมากข้ึน ดงั รปู ที่ 2.24

รูปท่ี 2.24 แผนภาพระดับพลังงานของอเิ ล็กตรอนในอะตอม

ดดั แปลงรปู จาก: http://www.satriwit3.ac.th/files/1210252020285154_1504020551350.jpg

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

46

2.4.2.2 กฎของฮนุ ด์ (Hund’ rule)
การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีพลังงานเท่ากัน ให้บรรจุในลักษณะท่ีมีอิเล็กตรอนเด่ียว
มากทสี่ ุด เมื่อมีอเิ ล็กตรอนเหลอื จงึ บรรจุเปน็ คู่
เชน่ มี 6 อเิ ล็กตรอน จัดลงใน d-orbital เป็นดังนี้
2.4.2.3 หลกั การกดี กนั ของเพาลี (Pauli Exclusion Principle)
อิเล็กตรอนคู่ใดคู่หนึ่งในออร์บิทัลเดียวกัน ต้องมีสมบัติไม่เหมือนกัน หมายถึงว่า ถ้าตัวหน่ึง
spin up อกี ตัวหนึ่งจะต้อง spin down
2.4.2.4 การบรรจุแบบเต็มและแบบครึ่ง
อะตอมของธาตุที่มีการบรรจุอิเล็กตรอนเต็มในทุกออร์บิทัลท่ีมีพลังงานเท่ากัน เรียกว่า
“การบรรจุแบบเต็ม” (อะตอมเสถียรท่ีสุด) และถ้ามีการบรรจุอยู่เพียงครึ่งเดียว เรียกว่า “การบรรจุ
แบบคร่งึ ” (อะตอมเสถยี รรองลงมาจากแบบเตม็ )
เมอ่ื ทราบหลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้ว อีกสิ่งหนึง่ ท่จี ะต้องทราบก็คอื การกาหนดสญั ลักษณ์
และการแปลความหมาย ดงั นี้

เม่ือพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยประกอบกัน
จะสามารถสรุปจานวนอิเลก็ ตรอนสงู สดุ ในแตล่ ะระดับพลงั งานได้ ดงั ตารางท่ี 2.4

ตารางที่ 2.4 แสดงจานวนอเิ ลก็ ตรอนทบ่ี รรจไุ ดม้ ากทีส่ ดุ ในแต่ละระดบั พลงั งาน

ระดับ ออร์บิทลั จานวน e- มากที่สุดใน จานวน e- มากท่ีสุด
ในระดับพลงั งานหลกั
พลงั งานหลัก ในระดบั พลงั งานย่อย ออรบ์ ิทัลของระดับพลังงานย่อย
2
1s 2 8

2 s 2 18
p 6
32
s2

3p 6

d 10

s2

4 p 6
d 10

f 14

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

47

จานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดท่ีมีได้ในแต่ละระดับพลังงานหลัก (คอลัมน์สุดท้ายในตารางท่ี 2.4)
จะมีค่าเท่ากับ 2n2 เมื่อ n คือ ตวั เลขแสดงระดับพลังงานหลัก ได้แก่ 1, 2, 3, 4,…..

2.4.3 การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนลงในออรบ์ ทิ ลั และ การระบุหมู่-คาบ

ในที่น้ีจะกล่าวถึง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย เช่ือมโยงไปสู่การจัดเรียง

อเิ ล็กตรอนในระดบั พลงั งานหลัก รวมถึงการระบหุ มู่และคาบในตารางธาตุ ซงึ่ จะแบง่ ออกเป็น 2 กรณี คือ

2.4.3.1 การจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนของธาตเุ รพรีเซนเททีฟ (กลมุ่ A ในตารางธาตุ)

ยกตัวอย่าง การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ P31 : เมื่อพิจารณาเลขอะตอมพบว่า มีโปรตอน

15

15 อนุภาค ดงั นั้น จึงมีอเิ ล็กตรอน 15 อนภุ าค จากนน้ั นาอเิ ลก็ ตรอนทัง้ หมด บรรจลุ งในออร์บทิ ัล

สมมติว่า เราเปล่ียนการมองสัญลักษณ์สปินของอิเล็กตรอน เป็นตัวเลข จะทาให้เห็นลาดับ

การบรรจุอิเล็กตรอนสอดคล้องตามกฎและหลักการท้ัง 4 ข้อ ท่ีกล่าวมาในหัวข้อ 2.4.2 ได้ชัดเจนมากย่ิงขึ้น

(กาหนดอเิ ลก็ ตรอนท้ัง 15 อนภุ าค ใหเ้ ปน็ ตวั เลขต้ังแต่ 1-15) จะไดด้ งั นี้

1,2 3,4 5,8 6,9 7,10 11,12 13 14 15

1s 2s 2p 3s 3p

และถ้ามองสปินของตัวเลขที่กาหนดขึ้น ในออร์บิทัลเดียวกัน จะต้องเขียนตัวเลข ตัวใดตัวหนึ่ง
ให้กลับหวั ซึง่ การจดั แบบนี้ แสดงเพอื่ ความเข้าใจเทา่ นน้ั ไม่ใชก่ ารจดั ท่ียอมรบั ตามแบบสากล

การจัดทย่ี อมรบั และเข้าใจกนั ทัว่ ไป (เรยี กว่า การจดั เรยี งอิเล็กตรอนในออรบ์ ิทลั ) จะเป็นดังน้ี

1s 2s 2p 3s 3p

อย่างไรก็ตาม การเขียนช่องสี่เหลี่ยมแทนออร์บิทัล และการเขียนลูกศรแทนสปินของ

อิเล็กตรอน จะทาให้เกิดความยุ่งยากกับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนมาก ๆ ดังน้ัน จึงมีการกาหนดวิธีแสดง

การจดั เรียงอเิ ล็กตรอนที่สั้นลง เป็นดังนี้

1s2 2s2 2p6 3s2 3p3

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดบั พลังงานหลัก จะได้เป็น 2 8 5 ทาได้โดยการรวมอิเล็กตรอน

ในระดับพลังงานหลักเดียวกัน (ถ้ามองในเชิงคณิตศาสตร์ อาจกล่าวว่า สัมประสิทธิ์หน้าตัวอักษรเหมือนกัน

ให้นาเลขชีก้ าลังมารวมกัน)

1s2 2s2 2p6 3s2 3p3

n=1 n=2 n=3

นอกจากน้ัน เรายังสามารถระบุหมู่และคาบของธาตุ P31 จากการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ

15

พลังงานหลัก 2 8 5 ไดด้ ังน้ี

– การระบุหมู่ ดูได้จากเลขตัวสุดท้าย (บ่งบอกถึงจานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน หรือ อิเล็กตรอน

วงนอกสุด)

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

48

– การระบุคาบ ดูได้จากจานวนชุดตัวเลข หรือ ดูจากระดับพลังงานหลักสูงสุดที่มีอิเล็กตรอน

บรรจอุ ยู่ (บง่ บอกถงึ จานวนระดบั พลงั งานหลักตามแบบจาลองอะตอมของโบร์)

ดงั น้ัน 31 P จดั อย่ใู นหมู่ VA คาบท่ี 3
15

2.4.3.1 การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนของธาตแุ ทรนซิชนั (กลมุ่ B ในตารางธาต)ุ
การจัดเรียงอิเล็กตรอน และการระบุหมู่-คาบของธาตุแทรนซิชัน จะมีข้อแตกต่างจากหลักการ
ในกรณแี รกเลก็ น้อย ขอยกตัวอย่างการจัดเรยี งอิเลก็ ตรอนของธาตุแทรนซชิ ัน คาบที่ 4 ดังตารางท่ี 2.5

ตารางท่ี 2.5 แสดงการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนของธาตแุ ทรนซิชัน คาบที่ 4

ธาตุ เลข การจัดเรยี ง e- การจัดเรยี ง การจัดเรยี ง e- หมู่ หมู่ คาบ
อะตอม ในระดับพลงั งานยอ่ ย e- ในระดบั เพ่อื ระบุหมู่
พลงั งานหลัก (ตามระบบ (ตามระบบ 4
IUPAC) CAS) 4
Sc 21 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d1 2 8 9 2 2 8 8 3 4
3 IIIB 4
Ti 22 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d2 2 8 10 2 2 8 8 4 4 IVB 4
5 VB 4
V 23 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d3 2 8 11 2 2 8 8 5 6 VIB 4
7 VIIB 4
Cr 24 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d5 2 8 13 1 2 8 8 6 8 4
9 VIIIB 4
Mn 25 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d5 2 8 13 2 2 8 8 7 10
11 IB
Fe 26 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d6 2 8 14 2 2 8 8 8 12 IIB

Co 27 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d7 2 8 15 2 2 8 8 9

Ni 28 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d8 2 8 16 2 2 8 8 10

Cu 29 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d10 2 8 18 1 2 8 8 11

Zn 30 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 2 8 18 2 2 8 8 12

จากตาราง มขี ้อสังเกต 2 ประเดน็ หลัก ๆ ดงั นี้
(1) การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ Cr (จัดแบบครึ่ง) และ Cu (จัดแบบเต็ม) น้ัน เป็นไปตาม
หลักการ “การบรรจุแบบเต็มและแบบครึ่ง” กล่าวคือ อิเล็กตรอน 1 อนุภาค ในระดับพลังงานย่อย 4s
ยา้ ยไปอยู่ในระดบั พลังงานยอ่ ย 3d
(2) การระบุหมู่ของธาตุแทรนซิชัน (สังเกตคอลัมน์ การจัดเรียง e- เพื่ อระบุหมู่ )
จะนาอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย 4s และ 3d รวมกัน และให้ถือว่าเป็นจานวนอิเล็กตรอนวงนอกสุด
(เวเลนซ์อิเล็กตรอน) ตัวเลขตัวท้ายสุด ก็คือ หมู่ของธาตุ น่ันเอง อย่างไรก็ตาม การระบุหมู่มี 3 ระบบ
คือ ระบบ IUPAC ระบบยโุ รป และระบบอเมรกิ า
ระบบของยุโรปและอเมริกา มีการเรียงลาดับหมู่ด้วยตัวเลขและตัวอักษรท่ีต่างกัน จนเกิด
ความสบั สน ดังนนั้ IUPAC จึงกาหนดใหเ้ รียงลาดบั หมู่ด้วยเลขอารบกิ ตง้ั แต่ 1-18

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

49

เปรยี บเทยี บการเรยี งลาดับหมู่ท้ัง 3 ระบบ ดงั นี้

IUPAC 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ระบบ IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA IB IIB IIIB IVB VB VIB VIIB VIIIB
ยุโรป

ระบบ IA IIA IIIB IVB VB VIB VIIB VIIIB IB IIB IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA
อเมริกา

จากการท่ีผเู้ ขียนได้สังเกตตารางธาตุหรือหนังสือท่ีผลิตออกมาจาหน่ายในเมืองไทย พบว่า นิยม

การเรียงลาดับหมู่ตามระบบของอเมริกามากกว่าระบบของยุโรป และบางแหล่งใช้ควบคู่กันระหว่างระบบ

ของ IUPAC กับระบบของอเมริกา

การจัดเรียงอิเล็กตรอนยังมีอีกหน่ึงรูปแบบที่สามารถทาได้ น่ันคือ การจัดเรียงอิเล็กตรอน

แบบย่อ โดยเขียนแก๊สเฉื่อยในวงเล็บเหล่ียมแทนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของแก๊สเฉื่อยในชั้นถัดเข้ามาและ

แสดงเฉพาะการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนช้ันนอกสดุ เชน่

10Ne (มี 10 e-) จัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนเปน็ 1s2 2s2 2p6
11Na (มี 11 e-) จัดเรียงอเิ ล็กตรอนเปน็ 1s2 2s2 2p6 3s1
เขยี นยอ่ เปน็ [Ne]3s1

17Cl (มี 17 e-) จดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนเปน็ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5
เขยี นย่อเปน็ [Ne]3s2 3p5

QR code ลงิ กแ์ หลง่ เรยี นร้อู อนไลน์
ภายใตโ้ ครงการ Project 14 ของ สสวท.
เร่ือง ระดบั พลังงานหลกั และระดบั พลังงานยอ่ ย

2.5 ตารางธาตุ

ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึง การจัดหมวดหมู่ของธาตุในยุคต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงวิวัฒนาการ
ของตารางธาตจุ ากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั และรายละเอยี ดต่าง ๆ ของตารางธาตทุ ี่ใช้อยูใ่ นปจั จบุ นั

2.5.1 วิวัฒนาการของการจดั หมวดหมขู่ องธาตุ
2.5.1.1 การจดั ธาตแุ บบชุดสาม
ปี พ.ศ. 2360 โยฮันน์ โวล์ฟกัง เดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Dobereiner) จัดธาตุ

เป็นกลมุ่ กลุ่มละ 3 ธาตุ เรียกวา่ ชุดสาม หรือ ไตรแอด (Triad) ซึ่งมหี ลักการวา่ “ถา้ นาธาตุสามชนดิ มาเรียง
ตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก ธาตุท่ีอยู่ตรงกลางจะมีมวลอะตอมพอ ๆ กับมวลอะตอมเฉลี่ยของ
อีกสองธาตุ และธาตุในกลุ่มเดียวกันนจ้ี ะมีสมบัตคิ ลา้ ยคลึงกัน” เชน่

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

50

ต่อมาพบว่า หลักการน้ีเป็นเพียงความบังเอิญเท่าน้ัน เพราะไม่สามารถนาไปใช้กับธาตุ
กลุ่มอื่น ๆ ที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันได้อย่างหลากหลาย ทาให้การจัดธาตุด้วยวิธีการนี้ไม่เป็นท่ียอมรับในเวลา
ตอ่ มา

2.5.1.2 การจดั ธาตุโดยใชก้ ฎออกเตฟ
ปี พ.ศ. 2407 จอห์น นิวแลนดส์ (John Newlands) เสนอกฎออกเตฟ (Law of Octaves)

กล่าววา่ “ถ้าเรียงธาตตุ ามมวลอะตอมจากนอ้ ยไปมาก พบว่า ธาตทุ ี่ 8 จะมีสมบตั เิ หมือนธาตุที่ 1 เสมอ ไม่ว่า
จะเริ่มนับ 1 ที่ธาตุใดก็ตาม (ทัง้ น้ี ไมร่ วมธาตุไฮโดรเจนและแก๊สเฉือ่ ย)” ดังน้ี

ถ้านับ Li เป็นธาตุท่ี 1 ธาตุที่ 8 คือ Na และท้ังสองธาตุ ก็มีสมบัติคล้ายคลึงกัน (เป็นโลหะ
เหมือนกนั ) ถ้านับ N เป็นธาตุท่ี 1 ธาตทุ ่ี 8 คอื P ทัง้ สองธาตุก็มสี มบัติเป็นอโลหะเหมอื นกัน แตก่ ารจัดแบบน้ี
จะใช้ได้ดีกับกลุ่มธาตุท่ีมีเลขมวลไม่มากนัก (ไม่เกิน 40) เช่น ถ้านับ Cl เป็นธาตุที่ 1 ธาตุที่ 8 คือ Mn
ซ่ึงสมบัติของ Cl เป็นอโลหะ แต่ Mn เป็นโลหะ การจัดแบบนี้จึงไม่เป็นท่ียอมรับในเวลาต่อมา แต่อย่างไร
ก็ตาม ถือเป็นการรเิ รม่ิ แนวคดิ ท่ีนาไปสูก่ ารจดั หมวดหมูธ่ าตุในรูปแบบอ่ืน ๆ ต่อไป

2.5.1.3 การจดั ธาตุโดยใชก้ ฎพริ ิออดกิ
ปี พ.ศ. 2412-2413 ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ (Dimitri Ivanovich Mendeleev)

และ ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (Julius Lothar Meyer) ทั้งสองท่านได้เสนอวิธีการจัดหมวดหมู่ของธาตุใน
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันและเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่งกล่าวว่า “ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก
แล้วแบ่งแถวให้เหมาะสม พบว่า ธาตุที่มีสมบัติคล้ายคลึงกัน จะปรากฏอยู่ตรงกันเป็นช่วง ๆ” ซ่ึงต่อมา
ถูกเรียกว่า กฎพิริออดิก (Periodic Law) ทั้งนี้ผลงานของเมนเดเลเอฟ ได้รับการยอมรับมากกว่าของ
ไมเออร์ เพราะมีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเมนเดเลเอฟจึงได้รับเกียรติในการตั้งชื่อของท่านเป็น
ชื่อตารางธาตุว่า “ตารางพิริออดกิ ของเมนเดเลเอฟ (Periodic Table of Mendeleev)”

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

51

เมนเดเลเอฟ ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลจนนาไปสู่การจัดหมวดหมู่ของธาตุเป็น
เวลากว่า 13 ปี โดยไม่ได้ใช้ข้อมูลของตนเองเพียงอย่างเดียว แต่ยังใช้ข้อมูลจากนักวิทยาศาสตร์ท่านอ่ืนด้วย
และข้อมูลการจัดหมวดหมู่ของธาตุถูกแสดงเม่ือวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1869 (พ.ศ. 2412) ภายใต้หัวข้อ
“The Dependence Between the Properties of the Atomic Weight of the Elements” แ ส ด ง
ดงั รปู ท่ี 2.25 (ก) และ (ข)

(ก) (ข) ดาวนโ์ หลดบทความ
รปู ท่ี 2.25 (ก) ตารางพริ ิออดิกของเมนเดเลเอฟทีถ่ ูกตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1869

(ข) ตารางธาตุทีไ่ ดร้ ับการปรบั ปรุงและตีพิมพใ์ หมใ่ นปี 1872

ทีม่ าของรูป: https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/magazine_detail.asp?Run_no=dlkedlkbz
(จากบทความ เร่ือง ชวี ิตดั่งนยิ ายของชายผูจ้ ดั ระเบยี บธาต)ุ

ลักษณะการจัดจะเป็นแถวตามแนวด่ิง เรียงตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น และให้ธาตุท่ีสมบัติ
คล้ายกันอยู่ในแถวตามแนวนอน และถ้าเรียงตามมวลอะตอมแล้ว มีสมบัติไม่สอดคล้องกัน ก็จะเว้นช่องว่าง
ไว้ ซ่งึ เขาคดิ ว่าน่าจะมีการค้นพบธาตทุ ่ีตาแหนง่ นั้น ๆ ในอนาคต เพราะในสมัยน้ันมกี ารค้นพบเพียงประมาณ
60 ธาตุเท่านั้น และต่อมามีการค้นพบธาตุมากขึน้ การจัดธาตุของเมนเดเลเอฟจึงมีข้อบกพร่องหลายประการ
เช่น ธาตุบางชนิดมีมวลอะตอมมากกว่าแต่อยู่หน้าธาตุทม่ี วลอะตอมน้อยกว่า (มกี ารสลับตาแหน่ง) และเม่ือมี
การค้นพบแก๊สเฉื่อยกไ็ มท่ ราบว่าจะจดั ไวต้ รงตาแหน่งใด เปน็ ต้น

2.5.1.4 การจดั ธาตตุ ามตารางธาตุทใ่ี ช้ในปจั จุบนั
ปี พ.ศ. 2455 เฮนรี มอสลีย์ (Henry Moseley) ได้ค้นพบค่าของเลขอะตอม และยังพบว่า

เลขอะตอมมีความสัมพันธ์กับสมบัติของธาตุมากกว่ามวลอะตอม จึงจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม ซ่ึงช่วย
แกป้ ญั หาการสลบั ตาแหนง่ ของธาตตุ ามแบบของเมนเดเลเอฟได้ ตารางธาตใุ นปัจจบุ นั แสดงดงั รูปที่ 2.26

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

52

รปู ท่ี 2.26 ตารางธาตุท่ีใช้ในปัจจบุ นั (จดั ทาโดย IUPAC)

ทีม่ าของรปู : https://www.iupac.org/cms/wp-content/uploads/2015/07/IUPAC_Periodic_Table-28Nov16.jpg

ซง่ึ เมื่อวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2559 มีการตีพิมพ์บทความการตั้งชื่อและสัญลักษณ์ของธาตุท่ี
ค้นพบใหม่ จานวน 4 ชนิด ในวารสาร Pure and Applied Chemistry ได้แก่ Nh, Mc, Ts และ Og
(ดรู ายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ จากวารสาร) ส่งผลให้ตารางธาตุ มีธาตบุ รรจเุ ตม็ ทั้งหมด 118 ชนดิ

ดาวน์โหลดบทความฉบบั เตม็ ไดท้ ี่
https://www.degruyter.com/downloadpdf/j/pac.2016.88.issue-12/pac-2016-0501/pac-2016-0501.pdf หรือ สแกน QR code

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

53

ลกั ษณะสาคัญของตารางธาตุในปัจจุบนั คือ
(1) จัดเรียงธาตุตามแนวนอน โดยเรยี งตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึน้ จากซ้ายไปขวา
(2) ธาตุซ่ึงเรียงตามลาดับเลขอะตอมที่เพ่ิมข้ึนและเป็นแถวตามแนวนอน เรียกว่า คาบ
(Period) มีทั้งหมด 7 คาบ (มีการค้นพบธาตุและแสดงเต็มทุกช่อง เมื่อปี พ.ศ. 2559 โดยมีธาตุรวมท้ังส้ิน
118 ธาตุ)
(3) ธาตใุ นแนวตง้ั เรียกว่า หมู่ (Group) มีตัวเลขกากับตัง้ แต่ 1-18 จากซ้ายไปขวา (ตามระบบ
IUPAC) โดยธาตุใน ห มู่ 1-2 และ 13-18 น้ั น จัดเป็ น กลุ่มย่อย A เรียกว่า ธาตุเรพ รีเซน เท ที ฟ
(Representative elements) และธาตุในหมู่ 3-12 จดั เป็นกลุ่มย่อย B เรียกว่า ธาตุแทรนซิชนั (Transition
elements)
(4) ธาตุในกลมุ่ ยอ่ ย A บางหมู่จะมชี ื่อเรยี กเฉพาะ ไดแ้ ก่

– หมู่ 1 เรียกว่า โลหะแอลคาไล (Alkali metal)
– หมู่ 2 เรียกว่า โลหะแอลคาไลนเ์ อริ ์ท (Alkaline earth metal)
– หมู่ 17 เรยี กวา่ ฮาโลเจน (Halogen)
– หมู่ 18 เรยี กวา่ แก๊สเฉอ่ื ย (Inert gas) หรือ แก๊สมีตระกลู (Noble gas)
(5) ธาตุสองแถวล่าง ซ่ึงแยกไว้ต่างหาก โดยแถวท่ี 1 เลขอะตอม 57-71 (La ถึง Lu) เรียกว่า
กลุ่มธาตุแลนทานอยด์ (Lanthanoid) และแถวท่ี 2 เลขอะตอม 89-103 (Ac ถึง Lr) เรียกว่า กลุ่มธาตุ
แอกทินอยด์ (Actinoid) และถ้าจะเรียกช่ือรวมของสองกลุ่มน้ี จะเรียกว่า ธาตุแทรนซิชันช้ันใน (Inner
transition elements)
(6) ธาตุ B, Si, Ge, As, Sb และ Te จัดเป็นธาตุกึ่งโลหะ (Metalloid) กลุ่มธาตุที่อยู่ด้านซ้าย
ของกลมุ่ ก่งึ โลหะนี้ เรยี กวา่ โลหะ (Metal) และทางขวา เรยี กวา่ อโลหะ (Non-metal)
(7) สาหรับธาตุ H ตารางธาตุบางแหล่ง จะจัดแยกไว้ต่างหาก ตรงก่ึงกลางของคาบที่ 1
เน่ืองจากว่า ไฮโดรเจนน้ันมีสมบัติบางอย่างคล้ายธาตุหมู่ 1 และบางอย่างคล้ายธาตุหมู่ 17 แต่ส่วนใหญ่แล้ว
จะจดั ไวใ้ นหมทู่ ี่ 1
(8) ตารางธาตุจะมีการกาหนดความหมายของตัวเลขและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ไว้เสมอ และ
ลักษณะการจัดวางจะขึ้นอยู่กับองค์กรท่ีผลิต แต่หลัก ๆ จะประกอบด้วยมวลอะตอม เลขอะตอม และ
สัญลักษณ์ของธาตุ ซึ่งใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวหน้าของช่ือเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น ธาตุคาร์บอน (Carbon)
ใช้สัญลักษณ์เป็นตัว C และถ้าตัวหน้าซ้าให้ใช้ตัวถัดไปตัวใดก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมเป็นตัวพิมพ์เล็ก เช่น
ธาตแุ คลเซียม (Calcium) ถ้าใช้ C จะซา้ กับคารบ์ อน จงึ ใช้เป็น Ca เปน็ ต้น
(9) ธาตุบางชนิด มีชื่อมาจากภาษาละติน โดยมีทั้งสิ้น 11 ธาตุ ได้แก่ Fe (Ferrum)
Au ( Aurum) Ag ( Argentum) Cu ( Cuprum) Hg ( Hydragerum) Sn ( Stannum) Na ( Natrium)
K (Kalium) Pb (Plumbum) W (Wolfram) Sb (Stibium)
(10) ถ้าพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอนในออร์บิทัล s p d f ท่ีมีพลังงานสูงสุดและมี

อิเล็กตรอนบรรจุอยู่ จะแบ่งเป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่ม s (s-block) คือ ธาตุหมู่ 1-2 กลุ่ม p (p-block) คือ

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

54

ธาตุหมู่ 13-18 กลุ่ม d (d-block) คือ กลุ่มธาตุแทรนซิชัน หมู่ 3-12 และกลุ่ม f (f-block) คือ กลุ่มธาตุ
แทรนซิชนั ชน้ั ใน (แลนทานอยด์และแอกทินอยด์) ดังรูปท่ี 2.27

d-block

s-block p-block

f-block

รูปท่ี 2.27 การแบง่ กลมุ่ ธาตุตามการจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในออรบ์ ิทัล

ทมี่ าของรปู : https://www.periodni.com/download/periodic_table-black_and_white.pdf

ดาวน์โหลดตารางธาตุ

2.6 แนวโน้มสมบัตขิ องธาตตุ ามหม่แู ละคาบ

การจัดเรียงธาตุตามตารางธาตุในปัจจุบัน จัดเป็นหมู่และคาบ โดยอาศัยสมบัติบางประการที่
คล้ายคลึงกัน ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงสมบัติต่าง ๆ โดยพิจารณาแนวโน้มตามหมู่และคาบ ได้แก่ ขนาดอะตอม
ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน อิเล็กโทรเนกาติวติ ี และสัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอน ทั้งนี้จะกลา่ วถึงสมบัติ
ของธาตุในกลุ่ม A หรือธาตุเรพรีเซนเททีฟเท่าน้ัน เพราะธาตุกลุ่ม B จะมีแนวโน้มและสมบัติต่าง ๆ ที่ไม่มี
ความแตกต่างกันมากนัก

2.6.1 ขนาดอะตอม (Atomic size)
เม่ือกล่าวถึงขนาดอะตอม มักจะใช้ข้อมูลตัวเลขของรัศมีอะตอม (Atomic radius) ในหน่วย

พโิ กเมตร (pm) ดังรปู ที่ 2.28

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

55

รปู ที่ 2.28 แสดงแนวโนม้ ของรศั มีอะตอม (ในหนว่ ยพิโกเมตร) ตามแนวหมแู่ ละแนวคาบ

ดัดแปลงรปู จาก: https://www.ck12.org/chemistry/periodic-trends-atomic-radius/lesson/Periodic-Trends:-Atomic-Radius-CHEM

เมือ่ พิจารณาแนวโนม้ ของรศั มีอะตอม (ขนาดอะตอม) ตามแนวหม่แู ละคาบ พบว่า
ตามหมู่ (จากบนลงลา่ ง, เลขอะตอมเพ่มิ ข้นึ ) : รัศมีอะตอมเพิ่มขึน้ (ขนาดอะตอมใหญ่ข้นึ )

อธบิ ายเหตุผล
1 – เปรียบเทียบ 3Li (มีจานวนโปรตอน = 3) จัดเรียงอิเล็กตรอนได้ว่า 2 1
Li 2 (มี e- ในระดับพลังงานหลัก 2 ระดับ คือ n=1 และ n=2) กับ 37Rb (มีจานวน

3Li โปรตอน = 37) จัดเรียงอิเล็กตรอนได้ว่า 2 8 18 8 1 (มี e- ในระดับ

พลงั งานหลกั 5 ระดบั พลงั งาน คือ n=1 ถึง n=5)

81 – แม้ว่าจานวนโปรตอนจะเพ่ิมขึ้น แต่แรงดึงดดู ท่ีกระทาต่อเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน
2 818 มีน้อย เนื่องจากว่า จานวนระดับพลังงานท่ีเพิ่มข้ึน เป็นเสมือนกาแพงท่ีกาบัง
แรงดึงดูดท่ีโปรตอนกระทาต่อเวเลนซ์อิเล็กตรอน ขอบเขตการโคจรของ
Rb เวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนจึงอยหู่ ่างนิวเคลียสมาก ขนาดอะตอมจึงใหญ่ขน้ึ

37Rb – การเพิ่มขึ้นของระดับพลังงาน มผี ลต่อขนาดอะตอมมากกว่า การเพ่ิมข้ึนของ
จานวนโปรตอน

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

56

ตามคาบ (จากซา้ ยไปขวา, เลขอะตอมเพ่มิ ข้นึ ) : รศั มีอะตอมลดลง (ขนาดอะตอมเลก็ ลง)

1 287
8
2 Cl

Na

11Na 17Cl

อธิบายเหตผุ ล

– เปรียบเทียบ 11Na (จานวนโปรตอน = 11) จัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 1 กับ 17Cl (จานวน

โปรตอน = 17) จัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 7 จะเห็นว่า มีจานวนระดับพลังงานหลักเท่ากัน คือ

3 ระดบั (n=1 ถึง n=3) แตม่ จี านวนโปรตอนเพ่มิ ขน้ึ

– การมีจานวนโปรตอนเพิ่มขึ้น จะทาให้มีแรงดึงดูดท่ีโปรตอนกระทาต่อเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากกว่า

ขอบเขตการโคจรของเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนจงึ อยู่ใกลน้ วิ เคลยี สมากกวา่ ขนาดอะตอมจงึ เล็กลง

– ในคาบเดียวกนั ธาตทุ ีม่ เี ลขอะตอมมาก จะมขี นาดเล็กกว่า ธาตทุ ี่มีเลขอะตอมน้อย

2.6.2 ขนาดไอออน (Ionic size)
2.6.2.1 ไอออนบวก เกิดจากอะตอมสูญเสียเวเลนซ์อิเล็กตรอน เพื่อให้เป็นไปตามกฎออกเตต

(e- วงนอกสุดครบ 8 คล้ายกับแก๊สเฉื่อย) ทาให้จานวนระดับพลังงานหลักหายไป 1 ระดับ ขนาดไอออนจึง
เล็กกวา่ ขนาดอะตอมเดมิ

2.6.2.2 ไอออนลบ เกิดจากอะตอมรับอิเล็กตรอนเข้ามาในระดับพลังงานชั้นนอกสุด เพื่อให้
เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต การรับอิเล็กตรอนเข้ามาเพิ่มน้ี จะทาให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดมี
จานวนมากข้ึน (แต่จานวนโปรตอนและจานวนระดับชั้นพลังงานเท่าเดิม) แรงดึงดูดอิเล็กตรอนอัน
เนื่องมาจากโปรตอนลดลง ประกอบกับแรงผลักระหว่างอิเล็กตรอนเดิมและอเิ ล็กตรอนใหม่มากขึ้น ขอบเขต
การโคจรของเวเลนซ์อิเล็กตรอนจึงมีบริเวณกว้างมากข้ึน รัศมีหรือขนาดไอออนจึงใหญ่ข้ึน เมื่อเทียบกับ
อะตอมเดิม รัศมีอะตอมเปรียบเทียบกับรศั มไี อออน แสดงดังรูปที่ 2.29

อะตอม แสดงด้วยสเี ทาเขม้ ส่วนไอออนบวกและลบ แสดงด้วยสีแดงและฟ้า ตามลาดบั

รปู ท่ี 2.29 แสดงการเปรียบเทยี บรศั มีอะตอมและรัศมไี อออนบางชนดิ (ในหน่วยพิโกเมตร)

ทมี่ าของรูป: https://chem.libretexts.org/Core/Inorganic_Chemistry/Descriptive_Chemistry/Periodic_Trends_of_Elemental_Properties/Periodic_Trends_in_Ionic_Radii

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

57

2.6.2.3 แนวโนม้ ขนาดไอออน (แยกพิจารณา)

 ขนาดไอออนบวกของโลหะ  ขนาดไอออนลบของอโลหะ

– ตามแนวหมู่ : ขนาดไอออนบวกใหญข่ นึ้ – ตามแนวหมู่ : ขนาดไอออนลบใหญ่ขน้ึ

– ตามแนวคาบ : ขนาดไอออนบวกเลก็ ลง – ตามแนวคาบ : ขนาดไอออนลบเล็กลง

2.6.2.4 การเปรียบเทยี บขนาดไอออน
(1) การเปรียบเทียบระหว่างไอออนใด ๆ ก็ตาม ควรเปรียบเทียบกับไอออนมีจานวน

อเิ ล็กตรอนเท่ากนั จะชดั เจนมากกวา่
การพิจารณาขนาดไอออน กรณีที่จานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน คือ ถ้าอิเล็กตรอนเท่ากัน

ย่อมจะจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักได้เหมือนกัน จานวนระดับช้ันพลังงานเท่ากัน ไอออนใดที่มี
ประจลุ บมากกว่า ขนาดจะใหญ่กวา่ แตไ่ อออนใดประจบุ วกมากกวา่ ขนาดจะเล็กกว่า

(2) การเปรียบเทียบไอออนท่ีมีจานวนอิเล็กตรอนไม่เท่ากัน จะใช้ได้ดีกับเฉพาะกรณีที่ชนิด
ไอออนเหมือนกัน (บวกกับบวก ลบกับลบ) และ ขนาดประจุเท่ากัน ถ้ากรณีอื่น ๆ จะเปรียบเทียบ
ไดไ้ ม่ชดั เจน

การพิจารณาขนาดไอออน กรณีที่จานวนอิเล็กตรอนไม่เท่ากัน คือ ถ้าไอออนใดมีจานวน
ชน้ั ของระดับพลังงานน้อยกว่า ขนาดจะเล็กกวา่ เช่น

11Na+ (10e- จดั เรียง 2 8) เลก็ กว่า 19K+ (18e- จดั เรยี ง 2 8 8)
8O2– (10e- จดั เรยี ง 2 8) เล็กกว่า 16S2– (18e- จัดเรยี ง 2 8 8)

QR code ลิงก์แหล่งเรียนรอู้ อนไลน์
ภายใตโ้ ครงการ Project 14 ของ สสวท.

เรื่อง ขนาดไอออน

2.6.3 พลงั งานไอออไนเซชนั (Ionization Energy, IE)
พลังงานไอออไนเซชัน คือ ปริมาณพลังงานอย่างน้อยที่สุดที่ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจาก

อะตอมหรือไอออนในสถานะแก๊ส (อะตอมหรือไอออนดูดพลังงานเข้าไป) หน่วยพลังงานอาจจะเป็น kJ/mol
หรอื MJ/mol

ค่า IE ในหน่วย kJ/mol หมายถึง ปริมาณพลังงานท่ีใช้ไปในการทาให้อิเล็กตรอน 1 โมล
หลุดออกจากอะตอม (คาว่า 1 mol หมายถงึ จานวนอิเลก็ ตรอน 6.02 x 1023 อนุภาค ไม่ใช่อนภุ าคเดยี ว)

ค่า IE ของแต่ละอะตอม จะมีจานวนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนของอะตอมน้ัน ๆ เช่น 3Li
มีเลขอะตอม เท่ากับ 3 จึงมีอิเล็กตรอน 3 อนุภาค และจะมีค่าพลังงานไอออไนเซชัน 3 ค่า คือ พลังงาน
ไอออไนเซชันลาดบั ที่ 1 (IE1) จนถึง ลาดับที่ 3 (IE3)

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

58

พลังงานไอออไนเซชันที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนตัวแรก (ตัวนอกสุด, ห่างจากนิวเคลียสมากท่ีสุด)

ใหห้ ลุดออก จะเรียกว่า พลงั งานไอออไนเซชนั ลาดบั ที่ 1 (IE1) เชน่ – สังเกตว่า ยิ่งอิเล็กตรอนอยู่ใกล้
Li (g) → Li+ (g) + e- ; IE1 = +526 kJ/mol นิวเคลียสมากเท่าใด ค่า IE จะย่ิง

และการดงึ อิเลก็ ตรอนตวั ที่อยู่ถดั เขา้ ไป ก็จะเป็น IE2, IE3 ตามลาดับ ดงั น้ี มากขึ้น เพราะแรงดึงดูด e- จาก

พลงั งานไอออไนเซชนั ลาดบั ท่ี 2 (IE2) ดึงอเิ ลก็ ตรอนตวั ที่ 2 นวิ เคลยี สมคี ่ามากข้ึน
– เขียนเคร่ืองหมายบวกหนา้ ตัวเลข
Li+ (g) → Li2+ (g) + e- ; IE2 = +7,305 kJ/mol ห มายถึ ง อ ะตอ ม ห รือ ไอ อ อ น

พลงั งานไอออไนเซชันลาดับท่ี 3 (IE3) ดึงอเิ ล็กตรอนตัวที่ 3 ดดู พลังงานเขา้ ไป

Li2+ (g) → Li3+ (g) + e- ; IE2 = +11,822 kJ/mol

การเขยี นสมการแสดงค่า IE ลาดบั ต่าง ๆ

M(x-1)+ (g) → Mx+ (g) + e- ; IEx เม่อื x คอื ลาดบั อิเลก็ ตรอนทห่ี ลุดออก มีคา่ 1,2,3…

2.6.3.1 แนวโนม้ คา่ IE
การพิจารณาแนวโน้ม มักจะใช้ค่า IE1 ในการเปรียบเทียบ (เนื่องจากธาตุทุกชนิดมีค่า IE1 แต่

สาหรับ IE อ่ืน ๆ ธาตุแต่ละชนิดจะมีจานวนค่าไม่เท่ากัน จึงไม่นามาเปรียบเทียบกัน) แสดงค่า IE1 ของธาตุ
ดงั รปู ท่ี 2.30

รูปที่ 2.30 แสดงพลงั งานไอออไนเซชนั ลาดับท่ี 1 (IE1) ของธาตชุ นิดตา่ ง ๆ (ในหนว่ ย kJ/mol)

ดัดแปลงรปู จาก : http://archive.cnx.org/resources/bab6ad5d505805939f9dc3ac5b32aaa0659fe585/CNX_Chem_06_05_Firstionen.jpg

ตามหมู่ (จากบนลงล่าง, เลขอะตอมเพ่ิมขึ้น) : ค่า IE1 ลดลง เพราะ ขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น
เวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ห่างจากนิวเคลียสมาก (แรงดึงดูดจากนิวเคลียสน้อย) ทาให้ดึงอิเล็กตรอนออกจาก
อะตอมไดง้ า่ ย จึงใช้พลังงานตา่

ตามคาบ (จากซ้ายไปขวา, เลขอะตอมเพ่ิมขึ้น) : ค่า IE1 เพ่ิมข้ึน เพราะ ขนาดอะตอม
เล็กลง เวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ใกล้นิวเคลียสมาก (แรงดึงดูดจากนิวเคลียสมาก) ทาให้ดึงอิเล็กตรอนออกจาก
อะตอมได้ยาก จึงใช้พลังงานสงู

แก๊สเฉ่ือย มีค่า IE1 สูงมาก เม่ือเทียบกับธาตุอื่น ๆ แสดงว่า อะตอมมีเสถียรภาพสูง
(เสียอเิ ล็กตรอนได้ยาก)

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

59

2.6.3.2 การเปรียบเทยี บค่า IE1 ของอะตอมและไอออน
(1) จัดเรยี งอิเล็กตรอนแล้ว จานวนระดับพลังงานไม่เท่ากัน อะตอมหรือไอออนใดมีจานวน

ระดบั ชั้นพลังงานมาก จะมีคา่ IE1 ตา่
(2) จัดเรียงอิเล็กตรอนแล้ว จานวนระดับพลังงานเท่ากัน อะตอมห รือไอออนใด

มีเลขอะตอมมาก (จานวนโปรตอนมาก) จะมคี ่า IE1 สูง
(3) กรณีท่ีเลขอะตอมเท่ากัน (จานวนโปรตอนเท่ากัน) ให้พิจารณาท่ีจานวนเวเลนซ์

อิเลก็ ตรอน ถ้ามีจานวนเวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนมาก ค่า IE1 จะต่า
เช่น 9F (จัดเรยี ง e- ได้ 2 7) จะมีค่า IE1 น้อยกว่า 9F– (จดั เรยี ง e- ได้ 2 8)

2.6.3.3 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งค่า IE กับการจัดเรยี งอิเล็กตรอน
พจิ ารณาค่า IE ทั้งหมด (IE1 – IE13) ของธาตุ 13Al ในหน่วย MJ/mol

แบง่ แตล่ ะชุด เม่อื คา่ ห่างกนั ประมาณ 3 เท่า ขึน้ ไป

IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 IE9 IE10 IE11 IE12 IE13
0.584 1.832 2.751 11.584 14.837 18.384 23.302 27.466 31.905 38.464 42.661 201.283 222.327

ชุดที่ 3 มี 3 คา่ ชุดนค้ี ืออิเล็กตรอน ชุดท่ี 2 มี 8 คา่ ชดุ นค้ี ืออเิ ลก็ ตรอน ชุดท่ี 1 มี 2 คา่
แสดงถงึ 3 e- วงนอกสุด เพราะ IE ตา่ แสดงถึง 8 e- วงในสดุ เพราะ IE สงู แสดงถึง 2 e-

3 8 2

เมื่อแบ่งชุดตัวเลขจะได้ 3 ชุด แล้วได้จานวนค่า IE ในชุดท่ี 1, 2 และ 3 เป็น 2, 8, 3 ค่า
ตามลาดับ ซ่งึ จะสมั พันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 13Al คอื 2 8 3 นั่นเอง

ค่าพลังงานไอออไนเซชันของธาตอุ ืน่ ๆ สามารถดูเพิม่ เติมไดจ้ ากลงิ ก์

2.6.4 อิเล็กโทรเนกาตวิ ิตี (Electronegativity, EN)
อิเล็กโทรเนกาติวิตี คือ ค่าท่ีแสดงถึงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนเข้าหานิวเคลียส

ถ้าเปรียบเทียบระหว่างอะตอมเดี่ยว ๆ ค่า EN จะบ่งบอกความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของตวั มันเอง
ภายในอะตอมน้ัน (มักจะหมายถึงเวเลนซ์อิเล็กตรอน) แต่ถ้าพิจารณาในรูปของสารประกอบ (อะตอมสร้าง
พนั ธะกนั ) ค่า EN จะบ่งบอกถึงความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ที่มาสร้างพันธะกัน ถ้าธาตุใดมีคา่ EN
สูงกว่า ก็แสดงว่า สามารถดึงดูดอิเล็กตรอนเข้ามาหาตัวมันเองได้ดีกว่า โดยค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี แสดง
ดงั ตารางท่ี 2.6

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

60

ตารางที่ 2.6 แสดงค่าอเิ ล็กโทรเนกาตวิ ิตขี องธาตุเรพรีเซนเททีฟบางชนิด

หมู่ IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA
คาบ

คาบ 2 Li Be B C N O F
0.98 1.57 2.04 2.55 3.04 3.44 3.98

คาบ 3 Na Mg Al Si P S Cl
0.93 1.31 1.61 1.90 2.19 2.58 3.16

คาบ 4 K Ca Ga Ge As Se Br
0.82 1.00 1.81 2.01 2.18 2.55 2.96

คาบ 5 Rb Sr In Sn Sb Te I
0.82 0.95 1.78 1.96 2.05 2.10 2.66

คาบ 6 Cs Ba Tl Pb Bi Po At
0.79 0.89 1.62 2.33 2.02 2.00 2.20

(สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2561)

2.6.4.1 แนวโน้มของค่า EN
ตามหมู่ (จากบนลงล่าง) : ค่า EN จะลดลง เนื่องจากขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น อิเล็กตรอนห่าง

จากนิวเคลียสมากขน้ึ นิวเคลียสส่งแรงดงึ ดดู อเิ ล็กตรอนไดไ้ ม่ดี
ตามคาบ (จากซ้ายไปขวา) : ค่า EN จะเพ่ิมขึ้น เนื่องจากขนาดอะตอมเล็กลง อิเล็กตรอน

อยใู่ กล้นิวเคลียสมากขนึ้ นิวเคลียสจึงส่งแรงดงึ ดูดอเิ ลก็ ตรอนได้ดี

QR code ลิงก์แหล่งเรียนรู้ออนไลน์
ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท.

เรอื่ ง อิเล็กโทรเนกาตวิ ติ ี

2.6.5 สัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอน (Electron Affinity, EA)

IUPAC กาหนดนยิ ามของ สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน ไว้ว่า “พลังงานท่ีใช้ในการทาใหอ้ เิ ลก็ ตรอน

หลดุ ออกจากไอออนลบของธาตใุ นสถานะแกส๊ ” ดงั สมการท่ี (1)

A‒ (g) → A (g) + e‒ (ไอออนดูดพลงั งานเข้าไป)……….(1)

ซึง่ สมการท่ี (1) เป็นปฏิกิรยิ าย้อนกลบั ของปฏิกิริยาการรับอเิ ล็กตรอนของอะตอมเพ่ือกลายเป็น

ไอออนลบ ดังสมการที่ (2)

A (g) + e‒ → A‒ (g) (อะตอมคายพลงั งานออกมา)……….(2)

หากเรามองเร่ิมต้นท่ี “อะตอมของธาตุ” ซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า รับอิเล็กตรอนเข้าไป

เพื่อให้ตัวมันเองกลายเป็นไอออนลบ การเกิดกระบวนการนี้ “อะตอมของธาตุ” จะ คายพลังงาน ออกมา

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

61

โดยปกติ การคายพลังงาน มักจะเขียนเครื่องหมายลบกากับไว้หน้าตัวเลขพลังงานที่คายออกมา เช่น
ถ้าอะตอมของฟลูออรีน (F) รับอิเล็กตรอนเข้าไป จะคายพลังงานออกมา 328 kJ/mol แล้วตัวมัน
จะกลายเป็นฟลูออไรด์ไอออน (F‒) ถ้าหากจะเปลี่ยนคาว่า คายพลังงาน ด้วยการใช้เครื่องหมายแทน
กจ็ ะต้องเขยี นเป็น -328 kJ/mol

ค่า EA จึงมีความสัมพันธ์กับพลังงานท่ีเกี่ยวข้องในกระบวนการเกิดไอออนลบของอะตอม และ
จะแสดงเป็นค่าบวก ซึ่งเป็นตัวเลขเดียวกันกับพลังงานที่อะตอมคายออกมา แต่ไม่ใช้เครื่องหมายลบกากับ
ด้านหน้าตัวเลขค่าพลังงาน (เพราะจะขัดต่อนิยามท่ี IUPAC กาหนดไว้) ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
แสดงดังตารางที่ 2.7

ตารางที่ 2.7 แสดงค่าสัมพรรคภาพอเิ ล็กตรอนของธาตุเรพรเี ซนเททีฟบางชนดิ

คาบ หมู่ IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIA

คาบ 2 Li Be B C N O F Ne

60 ≤ 0 27 122 -7 141 328 (-29)
คาบ 3 Na Mg Al Si P S Cl Ar

53 ≤ 0 43 134 72 200 349 (-35)
คาบ 4 K Ca Ga Ge As Se Br Kr
48 2.4 29 119 78 195 325 (-39)
คาบ 5 Rb Sr In Sn Sb Te I Xe

47 5.0 29 107 103 190 295 (-41)
คาบ 6 Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn
45 14 19 35 91 183 270 (-41)
(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2561)

ค่า EA ใช้ในการบ่งบอกถึงแนวโน้มของการรับอิเล็กตรอนของอะตอมเพ่ือกลายเป็น
ไอออนลบ (ความชอบรับอิเล็กตรอน) ถ้าหากเปรียบเทียบธาตุใด ๆ ธาตุท่ีมีค่า EA สูง จะมีแนวโน้มท่ีจะรับ
อเิ ลก็ ตรอนได้ดีกว่า หรอื กลา่ วว่า ธาตนุ ้ันชอบเกดิ เปน็ ไอออนลบมากกว่า นนั่ เอง เชน่

F (g) + e‒ → F‒ (g) เม่อื F รับอเิ ล็กตรอน จะคายพลังงาน 328 kJ/mol (EA = 328)
I (g) + e‒ → I‒ (g) เม่ือ I รบั อิเลก็ ตรอน จะคายพลงั งาน 295 kJ/mol (EA = 295)
แสดงว่า อะตอมของธาตุ F จะเกิดเป็นไอออนลบได้ดีกว่าอะตอมของธาตุ I เพราะค่า EA
ของ F มากกว่าคา่ EA ของ I
2.6.5.1 แนวโน้มค่า EA
ตามหมู่ (จากบนลงล่าง) : ค่า EA ลดลง เพราะขนาดอะตอมใหญข่ ้ึน (ไม่ชอบรบั e-)
ตามคาบ (จากซ้ายไปขวา) : ค่า EA เพ่ิมข้ึน เพราะขนาดอะตอมเล็กลง (ชอบรบั e-)

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

62

ขอ้ สงั เกตทน่ี า่ สนใจ
(1) ค่า EA ของธาตุบางชนดิ ได้แก่ Be Mg N และแก๊สเฉื่อยทุกชนดิ จะมีค่า EA ท่ีนอ้ ยกว่า
0 หรือค่าติดลบ แสดงวา่ ธาตุเหลา่ น้ี เกดิ เปน็ ไอออนลบไดย้ าก
(2) ค่า EA ของโลหะ ต่ากว่า ค่า EA ของอโลหะ ซึ่งสอดคล้องกับสมบัติของอโลหะที่ชอบ
เกดิ เปน็ ไอออนลบมากกว่าโลหะ และยังพบวา่ ธาตอุ โลหะหมู่ 7A (ฮาโลเจน) มคี า่ EA สูงกว่าธาตใุ นหมู่อนื่ ๆ
(3) ธาตุหมู่ 2A จะมีค่า EA ต่ากว่า ธาตุหมู่ IA แสดงว่า ธาตุหมู่ IIA ไม่ชอบรับอิเล็กตรอน
หรือมีโอกาสเป็นไอออนลบไดย้ ากกว่าหมู่ IA เนอ่ื งจาก ระดับพลังงานย่อยระดับสุดท้ายของธาตุหมู่ IIA บรรจุ
อิเล็กตรอนเต็มแล้ว หากจะรับอิเล็กตรอนมาเพ่ิม จะต้องรับมาเพ่ิมในระดับพลังงานย่อยระดับใหม่ท่ีสูงขึ้น
ซึ่งจะทาให้ไอออนนน้ั มีเสถียรภาพต่าลง แต่สาหรับธาตุหมู่ IA ระดบั พลังงานย่อยระดับสดุ ท้ายเป็นการบรรจุ
แบบคร่ึง ยังคงรับอิเล็กตรอนได้อีกในระดับพลังงานย่อยระดับเดิม จึงทาให้ไอออนนั้นมีเสถียรภาพมากกว่า
เช่น 11Na หมู่ IA จัดเรียงอเิ ล็กตรอน 1s2 2s2 2p6 3s1 จะเห็นว่า ระดับพลังงาน 3s1 ยังรับอิเล็กตรอนเพิ่มได้
อกี 1 อนุภาค (เปน็ 3s2) ในขณะที่ 12Mg หมู่ IIA จัดเรยี งอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p6 3s2 ซง่ึ บรรจุอิเลก็ ตรอนใน
ระดับพลังงาน 3s2 เต็มแล้ว หากจะรับอิเล็กตรอนเพ่ิมอีก 1 อนุภาค จะต้องบรรจุอิเล็กตรอนในระดับ
พลังงานถัดไปที่สูงข้ึน น่ันคือ ระดับพลังงาน 3p (เป็น 3p1) ซ่ึงจะเกิดขึ้นได้ยากมากกว่ากรณีของ 11Na
ดงั ทกี่ ลา่ วมาแล้ว ดังนั้น เสถียรภาพการเปน็ ไอออนลบของ Mg จงึ ต่ากว่า Na (Mg ไม่ชอบเกิดเปน็ ไอออนลบ)
คา่ EA จงึ ต่ากวา่
(4) ธาตุหมู่ VA มีค่า EA ต่ากว่า ธาตุหมู่ IVA แสดงว่า ธาตุหมู่ VA ไม่ชอบรับอิเล็กตรอน
หรือ มีโอกาสเป็นไอออนลบได้ยากกว่าหมู่ IVA เช่น ธาตุ 7N หมู่ 5A จัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p3 เป็น
การบรรจุอิเล็กตรอนแบบครึ่งซ่ึงมีเสถียรภาพมากในระดับหนึ่งแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกับ 6C หมู่ IVA จัดเรียง
อิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p2 ซ่ึงการเติมอิเล็กตรอนเพ่ิมอีก 1 อนุภาค ในระดับพลังงาน 2p2 (เป็น 2p3) จะเป็น
การบรรจแุ บบครึง่ ส่งผลใหเ้ สถียรภาพของไอออนลบของ 6C เพิ่มขนึ้ ได้

QR code ลิงกแ์ หลง่ เรียนรูอ้ อนไลน์
ภายใต้โครงการ Project 14 ของ สสวท.

เร่อื ง สมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน

2.7 ธาตแุ ทรนซชิ ัน

ธาตุแทรนซิชัน คือ ธาตุในหมู่ 3-12 ตามการแบ่งหมู่ของ IUPAC หรือหมู่ IIIB จนถึง IIB (จากซ้าย
ไปขวา) ในคาบที่ 4 – 7 ซึ่งในคาบที่ 6 จะมีธาตุในกลุ่มแลนทานอยด์ (เลขอะตอม 57-71) แทรกอยู่ ส่วนใน
คาบที่ 7 จะเปน็ กลุ่มแอกทินอยด์ (เลขอะตอม 89-103) แทรกอยู่ ท้ังสองกลุ่มนี้ รวมเรยี กวา่ “ธาตแุ ทรนซชิ ัน
ช้ันใน” และธาตุแทรนซิชันจัดเป็นธาตุในกลุ่มโลหะ แต่ก็ไม่ถูกจัดให้อยู่ในหมู่เดียวกันกับโลหะหมู่ IA – IIIA

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

63

เพราะมีสมบัติบางประการแตกต่างกัน พิจารณาสมบัติบางประการ เปรียบเทียบกับโพแทสเซียมและ
แคลเซยี ม ซ่งึ เปน็ ตวั แทนของโลหะในกลุ่มเรพรเี ซนเททีฟ ดังตารางที่ 2.8

ตารางที่ 2.8 แสดงสมบตั บิ างประการและการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนของโพแทสเซยี ม แคลเซียม และ

โลหะแทรนซิชนั คาบท่ี 4

ธาตุ เลข รศั มี จดุ จดุ ความ IE1 EN การจดั เรียงอิเล็กตรอน
อะตอม อะตอม หลอมเหลว เดอื ด หนาแนน่ (kJ/mol)
(pm) (oC) (g/cm3)
(oC)

โลหะในกลุ่มเรพรเี ซนเททีฟ

K 19 227 63 759 0.89 425 0.82 [Ar]4s1 2 8 8 1

Ca 20 197 842 1484 1.54 596 1.00 [Ar]4s2 2 8 8 2

โลหะในกลุม่ แทรนซิชนั

Sc 21 160 1541 2836 2.99 639 1.36 [Ar]4s2 3d1 2 8 9 2

Ti 22 150 1670 3287 4.51 665 1.54 [Ar]4s2 3d2 2 8 10 2

V 23 140 1910 3407 6.00 657 1.63 [Ar]4s2 3d3 2 8 11 2

Cr 24 130 1907 2671 7.15 659 1.66 [Ar]4s1 3d5 2 8 13 1

Mn 25 140 1246 2061 7.30 723 1.55 [Ar]4s2 3d5 2 8 13 2

Fe 26 130 1538 2861 7.87 768 1.83 [Ar]4s2 3d6 2 8 14 2

Co 27 130 1495 2927 8.86 766 1.88 [Ar]4s2 3d7 2 8 15 2

Ni 28 130 1455 2913 8.90 743 1.91 [Ar]4s2 3d8 2 8 16 2

Cu 29 130 1085 2562 8.96 752 1.90 [Ar]4s1 3d10 2 8 18 1

Zn 30 130 419 907 7.14 913 1.65 [Ar]4s2 3d10 2 8 18 2

(สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2561)

จากตารางที่ 2.8 จะพบวา่
(1) รัศมีอะตอมของโลหะแทรนซิชันจะลดลงเพียงเล็กน้อย เมื่อเลขอะตอมเพิ่มข้ึน เนื่องจาก
จานวนอิเล็กตรอนใน 3d ท่ีเพ่ิมขึ้น สามารถกาบังแรงดึงดูดจากนิวเคลียสที่กระทาต่ออิเล็กตรอนใน 4s
ถึงแมว้ ่า จานวนโปรตอนในนวิ เคลียสจะมากขึ้น แต่กท็ าให้รศั มีอะตอมลดลงเพียงเล็กนอ้ ยเท่าน้ัน (จนถือว่ามี
รศั มีใกลเ้ คยี งกัน) ในขณะทธ่ี าตุในกลมุ่ เรพรีเซนเททฟี จะมรี ัศมีลดลงอย่างเห็นได้ชดั
(2) โลหะแทรนซิชัน มีคา่ IE1 และ EN ตา่ ซึง่ คล้ายคลึงกบั ธาตเุ รพรีเซนเททีฟ
(3) โลหะแทรนซชิ ัน มจี ดุ หลอมเหลว จดุ เดอื ด และความหนาแน่นสงู กว่าธาตุเรพรเี ซนเททฟี
(4) การจัดเรียงอิเลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลกั ของโลหะแทรนซิชนั สว่ นใหญ่จะลงท้ายด้วย 2
หรือกล่าวว่า สว่ นใหญม่ จี านวนเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนเทา่ กับ 2 (ยกเว้น Cr และ Cu เทา่ กับ 1)

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

64

นอกจากสมบัติที่กล่าวมาในตารางที่ 2.8 แล้ว โลหะแทรนซิชัน ยังมีสมบัติเฉพาะตัวอื่น ๆ อีก
เช่น การนาไฟฟ้าและความร้อนได้ดี การมีสถานะออกซิเดชันหลายค่า ทาให้เกิดสารประกอบได้หลากหลาย
และมสี ีแตกต่างกนั ข้นึ กับชนิดของธาตุ สถานะออกซเิ ดชัน ชนดิ และจานวนของสารทีเ่ ขา้ มาสรา้ งพนั ธะ

ตวั อย่างการใชป้ ระโยชนจ์ ากธาตแุ ทรนซชิ นั :
– Fe : ใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง ถ้าผสมกบั คาร์บอน ใชท้ าเหลก็ กล้า
– Zn : สารประกอบ ZnO เปน็ สว่ นผสมในเครอ่ื งสาอาง
– Cu : ทาสายไฟ ผสมกับสงั กะสีเปน็ ทองเหลอื ง ผสมกับดีบกุ เปน็ สาริด
– Cr : เคลือบผวิ โลหะ ปอ้ งกนั สนิม ผสมกบั โคบอลต์ ใช้ทากระดูกเทียม

QR code ลงิ กแ์ หลง่ เรียนรอู้ อนไลน์
จาก Learning Innovation Center จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

เรื่อง สมบตั ขิ องธาตุแทรนซิชนั และสารประกอบ

2.8 ธาตกุ มั มนั ตรงั สี

ตามที่ได้ศึกษาองค์ประกอบของอะตอมตามทฤษฎีแบบจาลองอะตอมมาแล้วน้ัน จะเห็นว่าอนุภาค
มูลฐานภายในอะตอมประกอบไปด้วยอนุภาคโปรตอนและนิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอน
เคล่ือนที่อยู่รอบนิวเคลียส เมื่ออะตอมของธาตุใด ๆ สร้างพันธะกับอะตอมของธาตุอ่ืน ๆ เพ่ือเกิดเป็น
สารประกอบ ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะอิเล็กตรอนเท่านั้น (โดยเฉพาะเวเลนซ์อิเล็กตรอน) แต่การ
เปลี่ยนแปลงของอนุภาคมูลฐานอีกรูปแบบหนึ่งท่ีมีการค้นพบ คือ การเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของ
อะตอม ซึ่งผลท่ีตามมาจากการเปลี่ยนแปลงนี้คือ การปลดปล่อยพลังงานอันมหาศาลในรูปแบบของรังสี
ถูกค้นพบคร้ังแรกโดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ช่ือ อองรี แบ็กเคอเรล (Henri Bacquerel) โดยเร่ิมต้นจากการ
ทดสอบการเรืองแสงของสารต่าง ๆ และค้นพบว่า แผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่เก็บรวมไว้กับเกลือโพแทสเซียมยูเรนิล
ซัลเฟต (K2UO2(SO4)2) มีลักษณะเหมือนถูกแสง ท้ังที่ห่อกระดาษดาไว้แล้ว เขาจึงสรุปว่า สารประกอบของ
ยเู รเนียมจะตอ้ งเปลง่ รังสีทสี่ ามารถทะลผุ ่านกระดาษดาได้ เขาเรียกยเู รเนียมและสารอ่ืน ๆ ที่มีสมบตั ิเช่นน้ีว่า
“สารกัมมนั ตรังสี”

2.8.1 คาศัพทท์ ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ธาตุกัมมนั ตรงั สี
2.8.1.1 ไอโซโทปกัมมันตรังสี (Radioactive Isotope) หมายถึง ไอโซโทปของธาตุที่ไม่เสถียร

มีการสลายเพ่ือลดระดับพลังงาน โดยการปลดปล่อยรังสีออกมา มักใช้คาแทนว่า นิวไคลด์กัมมันตรังสี
(ศัพทานุกรมนิวเคลยี ร์, 2552)

2.8.1.2 นิวไคลด์กัมมันตรังสี (Radioactive nuclide) หมายถึง นิวไคลด์ที่ไม่เสถียร มีการ
สลายเพ่ือลดระดับพลังงาน โดยการปลดปล่อยรังสี เช่น แอลฟา เบตา แกมมา ออกมา นิวไคลด์กัมมันตรังสี
ท่ปี รากฏในธรรมชาติ และท่ีมาจากการผลิตของมนษุ ย์มีมากกว่า 1,300 ชนิด (ศัพทานกุ รมนิวเคลยี ร์, 2552)

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

65

ตัวอย่างนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่พบในธรรมชาติ เช่น 235 U 238 U K40 และที่มนุษย์ผลิตขึ้น
92 92
19

เช่น 60 Co 99 Tc
27 43

2.8.1.3 นิวไคลด์ (Nuclide) หมายถึง อะตอมที่ระบุสมบัติของนิวเคลียส โดยแสดงจานวน

โปรตอน นิวตรอน มีสญั ลักษณเ์ ป็น A X เม่ือ X คอื สญั ลกั ษณ์ของธาตุใด ๆ Z คือ เลขเชงิ อะตอม และ A คือ
Z

เลขมวล (ศัพทานุกรมนิวเคลยี ร์, 2552)

**การเขียนสัญลักษณ์ของนิวไคลด์ มีความหมายคล้ายคลึงกับสัญลักษณ์นิวเคลียร์ในหัวข้อที่

2.2.3 เพียงแต่จะไมก่ ลา่ วถงึ อิเล็กตรอน**

2.8.1.4 ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive element) หมายถึง ธาตุท่ีมีนิวเคลียสไม่เสถียร

(อัตราส่วนระหว่างนิวตรอนกับโปรตอนไม่เหมาะสม) จึงเกิดการสลายตัว เพ่ือเพ่ิมเสถียรภาพ โดยการ

ปลดปล่อยรังสีออกมา มักจะเป็นธาตุที่มีเลขอะตอมต้ังแต่ 84 ขึ้นไป แต่ก็ยังคงพบธาตุกัมมันตรังสีที่มี

เลขอะตอมตา่ กวา่ 84 อย่บู า้ ง เชน่ K-40 และ Ca-46 เปน็ ต้น

ตัวอยา่ งธาตุกัมมนั ตรงั สี

Tc-91, Pm-145, Po-209, At-210, Rn-222, Fr-223, Ra-226, Ac-227, Th-229

(การเขียนสัญลกั ษณ์ มักจะเขียนสัญลกั ษณธ์ าตตุ ามด้วยเลขมวล)

อา้ งองิ ตาม International Atomic Energy Agency ENSDF database (Oct 2010)

และเพ่ือเป็นการอธิบายรายละเอียดของคาว่า “ไม่เหมาะสม” ในประโยคท่ีกล่าวว่า

“อตั ราส่วนระหว่างนวิ ตรอนกบั โปรตอนไม่เหมาะสม” จงึ ขอขยายความในหัวขอ้ 2.8.2

2.8.2 นวิ เคลยี สและเสถยี รภาพของนวิ เคลียส
อนุภาคโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียสน้ัน จะมีพลังงานยึดเหน่ียว (Binding Energy)

คล้าย ๆ กับการมีแรงดึงดูดระหว่างโปรตอนในนวิ เคลยี สกบั อเิ ลก็ ตรอนในอะตอมนน้ั ๆ แต่จะมีความซบั ซ้อน
และมีพลังงานสูงกว่าหลายล้านเท่า และมีแบบจาลองท่ีอธิบายโครงสร้างภายในนิวเคลียสหลายแบบ แต่ท่ี
นยิ มนามาใช้ในการอธิบายโครงสรา้ งมี 2 แบบ คือ

(1) แบบจาลองหยดของเหลว (Liquid drop model) ตามแนวคิดของนีลส์ โบร์ (ค.ศ. 1936)
กล่าวว่า นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนอัดกันภายในนวิ เคลียสอย่างไม่เป็นระเบียบ มีลักษณะ
เหมือนหยดของเหลว ความหนาแน่นภายในนิวเคลยี สจะคงที่สาหรบั ทุก ๆ อะตอม คือ 1.8 × 1014 g/cm3

(2) แบบจาลองท่ีเป็นเชลล์ (Shell model) โดยการเสนอของไมเออร์ (ค.ศ. 1950) กล่าวว่า
นวิ เคลียสมีระดับพลังงานเหมือนกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แต่จะมีความซับซ้อนมากกว่า เพราะมีทั้ง
อนุภาคโปรตอนและนิวตรอน มีการตรวจพบการเปล่งรังสีพลังงานสูงมาก เม่ือนิวเคลียสในสภาวะกระตุ้ น
กลับมาสู่นิวเคลียสในสภาวะพื้น แต่พลังงานน้ีสูงมากกว่าการเปลี่ยนแปลงพลังงานของอิเล็กตรอนหลายเท่า
แสดงถึงเสถียรภาพของนิวเคลียส เม่ือมีการเปล่ียนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดปฏิกิริยา จึงไม่มีการ
เปล่ียนแปลงทบี่ รเิ วณนิวเคลยี สเลย

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

66

ข้อสนับสนุนหน่ึงของแบบจาลองนี้ คือ นิวเคลียสท่ีเสถียรภาพสูงเป็นพิเศษ จะมีนิวตรอนหรือ

โปรตอนเท่ากับตวั เลขใดตัวเลขหน่งึ ในกลุ่มตัวเลขท่ีเรียกวา่ เลขกล (Magic number) ได้แก่ 2, 8, 20, 50,

82 และ 126 ซ่ึงเป็นสภาพการณ์เดียวกับแก๊สเฉื่อยท่ีมีเลขอะตอมเป็น 2, 10, 18, 36, 54 และ 86 นั่นเอง

ถ้าท้ังโปรตอนและนิวตรอนมีจานวนเท่ากับเลขกลท้ังคู่ นิวเคลียสนั้นจะเสถียรท่ีสุด เช่น 4 He O16 Ca40
2
8 20

208 Pb เป็นต้น
82

2.8.2.1 การพิจารณาเสถียรภาพของนิวเคลยี ส

ปัจจัยสาคัญในการพิจารณาเสถียรภาพของนิวเคลียสก็คือ อัตราส่วนระหว่าง นิวตรอน :

โปรตอน (n : p) ที่เหมาะสม ถา้ นาเอาจานวนนิวตรอนและจานวนโปรตอนของธาตุเสถียรที่เกิดในธรรมชาติ

มาพล็อตกราฟความสัมพันธ์ ดังรูปท่ี 2.31 จะพบว่ามีพ้ืนท่ีในกราฟปรากฏเป็นแถบหรือโซนที่ถูกเรียกว่า

Zone of stability หรอื “แถบเสถียรภาพ” ส่วนเส้นทึบทแี่ สดงในกราฟน้ัน เป็นเส้นที่เกดิ จากนิวเคลียสที่

มีอัตราส่วน n : p เท่ากับ 1 (จานวนนิวตรอนเท่ากับโปรตอน) อันแสดงถึงนิวเคลียสท่ีมีเสถียรภาพสูงมาก

หากพิจารณาแถบเสถียรภาพ ในตอนตน้ นั้นจะแคบ แสดงให้เห็นว่า นิวเคลียสของธาตุมีจานวนนิวตรอนและ

โปรตอนใกล้เคียงกัน (ธาตุเบา) และจะค่อย ๆ กว้างออกเมื่อจานวนนิวตรอนกับโปรตอนมีจานวนมากขึ้น

(ธาตุหนัก) สาหรับธาตุท่ีเบา (เลขอะตอม 1-20) จะมีอัตราส่วน n : p เท่ากับ 1 หรือใกล้เคียง 1 เช่น 12 C
6

ส่วนธาตุหนัก (เลขอะตอมมากกว่า 20) จะมี n : p มากกว่า 1 (ประมาณ 1.2 – 1.5) เช่น 207 Pb มี n : p
82

เท่ากับ 1.52 แต่ถ้านิวเคลียสของธาตุใดท่ีมีจานวนนิวตรอนและโปรตอนแตกต่างกันมาก ๆ จะส่งผลให้

อตั ราส่วน n : p อยู่นอกแถบเสถียรภาพ แสดงวา่ ธาตุน้ันเป็นธาตกุ มั มนั ตรงั สี

รปู ที่ 2.31 กราฟแสดงเสถียรภาพของนวิ เคลยี ส

ดดั แปลงรปู จาก : http://www.algebralab.org/practice/practice.aspx?file=Reading_TheBandOfStability.xml%20

โดยท่ัวไปแล้ว ธาตุกัมมันตรังสีมักจะเป็นธาตุหนักท่ีมีเลขอะตอมต้ังแต่ 84 ข้ึนไปและเลขมวล

มากกว่า 209 เช่น 210 At 226 Ra 235 U แ ล ะ ธ า ตุ เบ า ท่ี เป็ น ธ า ตุ กั ม มั น ต รั ง สี ใ น ธ ร ร ม ช า ติ ก็ พ บ ได้ บ้ า ง
85 88 92

ในปริมาณเลก็ น้อย เช่น 14 C 24 Na 32 P เปน็ ตน้
6 11 15

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

67

2.8.3 กมั มันตภาพรังสี (Radioactivity)
กัมมันตภาพรังสี หมายถึง ปรากฏการณ์ท่ีนิวไคลด์กัมมันตรังสีสลายและมีการปล่อยรังสี

ออกมาด้วย โดยทวั่ ไปการสลายจะใหน้ ิวไคลด์ใหม่ (ศัพทานกุ รมนิวเคลียร์, 2552)
กมั มนั ตภาพรงั สี หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เพ่ือเกิดเป็น

นิวเคลียสใหม่ท่ีเสถียรกว่าเดิม ขณะเดียวกันจะเปล่งรังสีออกมาด้วย กระบวนการน้ีจะเกิดข้ึนเองอย่างอิสระ
ไม่ขึ้นกับสภาวะของสารหรืออิทธิพลอื่นใดจากภายนอก เช่น อุณหภูมิ ความดัน ฯลฯ นิวเคลียสท่ีเกิดการ
เปลี่ยนแปลงได้ในลักษณะนี้จะมีนิวตรอนและโปรตอนอยู่นอกแนวเสถียรภาพ จึงเป็นนิวเคลียสกัมมันตรังสี
(เคมที ัว่ ไป เลม่ 2 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2535)

กัมมนั ตรังสี หมายถงึ รังสที ่เี ปลง่ ออกมากจากธาตกุ ัมมนั ตรังสี ดังตัวอย่างในตารางท่ี 2.9

ตารางท่ี 2.9 แสดงสมบัตขิ องกัมมันตรงั สบี างชนิด

ชนิดของรังสี แอลฟา เบตา แกมมา
สมบัติ
γ
สัญลักษณ์ α หรือ 4 He β หรือ e0
2 ไมเ่ บี่ยงเบน
การเบ่ยี งเบน 1
ในสนามไฟฟ้า ไมม่ ีมวล
เบนเข้าหาขัว้ ลบ เบนเขา้ หาขว้ั บวก 3.0×105 km/s
มวล
ความเร็ว มาก เมื่อเทียบกับรังสีอน่ื ๆ เทา่ มวลอเิ ล็กตรอน สูงมาก
อานาจทะลุทะลวง 1.6×104 – 3.0×104 km/s 1.6×105 – 2.7×105 km/s Pb หนากวา่
วัสดปุ ้องกัน มากกว่าแอลฟา 100 เท่า
การทะลุทะลวง ต่ามาก 8 mm
การทาใหส้ ารอ่นื แผ่น Al หนา 5 mm
แตกตัวเป็นไอออน แผ่นกระดาษ หรอื Pb หนา 1 mm นอ้ ยมาก

มาก น้อยกวา่ แอลฟา

ธาตุกัมมันตรังสีหนึ่ง ๆ จะไม่เปล่งทั้งแอลฟาและเบตาออกมาพร้อมกัน จะเปล่งแต่เพียง

อย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าเมื่อใดตรวจพบทั้งแอลฟาและเบตาจากสารตัวอย่าง แสดงว่าต้องมีธาตุกัมมันตรังสี

มากกว่า 1 ชนดิ แตร่ งั สีแกมมาอาจจะเปลง่ ออกมาพร้อมกับแอลฟาและเบตาได้

นอกจากรังสีแอลฟา เบตา แกมมา ยงั มีรังสีชนดิ อื่น ๆ เช่น โพซิตรอน (β+ หรือ 0 e) โปรตอน
1

(p หรือ 1 H) ดิวเทอรอน (D หรอื 2 H) ทรทิ อน (T หรือ 3 H) นิวตรอน (n หรือ 1 n)
1 1 1 0

2.8.4 รปู แบบการเปลง่ รงั สีของธาตุกัมมันตรังสี
2.8.4.1 การเปล่งรังสีแอลฟา หรือ อนุภาคแอลฟา มักเกิดกับนิวเคลียสที่มีเลขมวลมากกว่า

200 และมนี ิวตรอนน้อยกว่าท่ีควร นิวเคลยี สใหม่ที่เกิดขึ้นจะมีเลขอะตอมนอ้ ยกว่าเดิม 2 หน่วย และเลขมวล
นอ้ ยกวา่ เดิม 4 หน่วย เช่น

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

68

Ra224 → Rn220 + 4 He
2
88 86

2.8.4.2 การเปล่งรังสีเบตา หรือ อนุภาคเบตา ซ่ึงจะเป็นอิเล็กตรอนท่ีออกจากนิวเคลียส

ด้วยความเร็วเกือบเท่าความเร็วแสง มักเกิดกับนิวเคลียสที่ n : p สูง ๆ (n >> p) กระบวนการน้ีอาจมองใน

แงท่ ี่ว่า นิวตรอนในนิวเคลียสเปล่ยี นเปน็ โปรตอนและให้อเิ ล็กตรอนออกมา ซึ่งก็คอื รังสเี บตานั่นเอง นิวเคลียส

ใหม่จะมีนิวตรอนลดลง และมโี ปรตอนเพ่ิมข้ึน เช่น

Tl → Pb + e208 208 0

81 82 1

2.8.4.3 การเปลง่ รงั สีแกมมา นิวเคลียสท่เี ปลง่ รงั สีแอลฟาและเบตาแล้ว มักจะทาใหน้ ิวเคลียส

ใหม่ยังคงมพี ลงั งานสงู กวา่ ปกติ จงึ ปลอ่ ยพลังงานสว่ นเกนิ ออกมาในรปู ของรังสแี กมมา ซึ่งไม่มีประจแุ ละมวล

ดังน้ันจึงไม่ทาให้เลขมวลกับเลขอะตอมของนวิ เคลียสใหมเ่ ปล่ยี นแปลงไป เชน่

238 U → 234 Th* + 4 He
92 90 2

234 Th + γ
90

2.8.4.4 การเปล่งรังสีโพซิตรอน หรือ เบตาบวก ( e)0 ซึ่งเป็นอิเล็กตรอนที่มีประจุบวก

1

มักเกิดกับนิวเคลียสท่ีมี n : p ต่า ๆ (n << p) จึงต้องลดโปรตอน โดยเปลี่ยนเป็นนิวตรอน พร้อมกับ

ให้อิเล็กตรอนท่ีเป็นบวก ดังน้ัน โปรตอนจะลดลงและนิวตรอนจะเพ่ิมข้ึน นิวเคลียสใหม่จะมีเลขมวลคงเดิม

แตเ่ ลขอะตอมลดลง 1 หนว่ ย เช่น

11 C → 11 B + e0
6 5
1

2.8.5 การสลายตวั ของธาตกุ ัมมนั ตรงั สแี ละค่าครึ่งชีวติ

ธาตุกัมมันตรังสีจะสลายตัวด้วยอัตราเร็วท่ีแตกต่างกันตามชนิดของธาตุ และจะแปรผันตรง

ตามจานวนอะตอมท่มี อี ยู่ โดยแตล่ ะนิวเคลียสจะมคี า่ เฉพาะคา่ หนึ่งท่ีสาคัญ เรียกว่า คา่ ครึ่งชวี ติ (Half-life)

ค่าครึ่งชีวิต (Half-life) ใช้สัญลักษณ์แทน คือ t1/2 หมายถึง เวลาที่ทาให้สารกัมมันตรังสี

สลายไปจนเหลือคร่ึงหนึ่งของปริมาณเดิม ค่านี้ใช้ในการตรวจสอบชนิดของธาตุกัมมันตรังสี ใช้เปรียบเทียบ

อัตราการสลายตัว และใช้ในการคานวณอายไุ ด้ ยกตัวอย่างค่าครงึ่ ชีวติ ของธาตุกมั มันตรังสบี างชนิด ดงั ตาราง

ที่ 2.10

ตารางที่ 2.10 แสดงคา่ ครึ่งชีวติ และรงั สที ่ีแผอ่ อกมาจากธาตกุ ัมมันตรงั สบี างชนดิ

ธาตุกัมมันตรงั สี คา่ ครง่ึ ชีวิต รงั สที ีแ่ ผ่ออกมา

U-238 4.5 × 109 ปี แอลฟา

Np-237 2.2 × 106 ปี แอลฟา

C-14 5,730 ปี เบตา

Sr-90 19.9 ปี เบตา

I-131 8 วนั เบตา

O-15 118 วินาที เบตา

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

69

2.8.5.1 การคานวณการสลายตวั ของธาตุกัมมนั ตรังสี
ตวั อย่าง
ถ้ามีธาตุกัมมันตรังสี I-131 (t1/2 = 8 วัน) ในตอนเร่ิมต้นอยู่ 100 กรัม วางทิ้งไว้ 32 วัน
จะเหลือ I-131 อยู่ 6.25 กรมั

วันแรก ผ่านไป 8 วัน ผ่านไป 16 วัน ผา่ นไป 24 วัน ผา่ นไป 32 วนั
100 กรัม เหลือ 50 กรัม เหลอื 25 กรัม เหลอื 12.5 กรัม เหลอื 6.25 กรมั

8 วัน 8 วนั 8 วนั 8 วนั

สลายตัวครัง้ ท่ี 1 สลายตวั ครั้งท่ี 2 สลายตวั คร้ังที่ 3 สลายตวั ครง้ั ที่ 4

กาหนดสัญลกั ษณ์
t1/2 คือ คา่ คร่งึ ชีวิต
n คือ จานวนครง้ั ของการสลายตัวของธาตุกมั มนั ตรงั สี
N0 คือ ปรมิ าณธาตุกมั มนั ตรังสที ่มี ีอย่ตู อนเริม่ ตน้
Nn คอื ปรมิ าณธาตกุ มั มันตรังสที เ่ี หลืออยู่ เม่อื สลายตวั ไปแลว้ n คร้งั
Tn คือ ระยะเวลารวมท้งั หมด เม่อื สลายตวั ไปแล้ว n ครงั้

จากแผนภาพ เม่ือเวลาผ่านไป 32 วัน (แทนด้วย Tn) มีการสลายตัว 4 ครั้ง (แทนด้วย n)
แตล่ ะครัง้ ทมี่ กี ารสลายตวั จะใชเ้ วลา 8 วัน (แทนด้วย t1/2)

เขยี นเปน็ สูตรคานวณไดว้ ่า Tn = n × t1/2 (ถา้ แทนค่า จะได้; 32 วัน = 4 ครัง้ × 8 วนั )
การสลายตวั เกิดขน้ึ 4 ครงั้ เมือ่ เวลาผ่านไป คร้ังละ 8 วนั ปรมิ าณธาตจุ ะลดลงทีละครึง่ ดังน้ี
สลายตวั ครง้ั ท่ี 1 ปริมาณธาตุเหลืออยู่ 100/2 = 50 แทนด้วย N0/2 = N0/21

 เวลาผ่านไป 8 วนั
สลายตวั ครั้งที่ 2 ปริมาณธาตเุ หลืออยู่ 50/2 = 25 แทนด้วย (N0/2)/2 = N0/4 = N0/22

 เวลาผา่ นไปอีก 8 วัน รวมเปน็ 16 วนั
สลายตวั ครงั้ ท่ี 3 ปรมิ าณธาตุเหลอื อยู่ 25/2 = 12.5 แทนดว้ ย (N0/4)/2 = N0/8 = N0/23

 เวลาผ่านไปอีก 8 วัน รวมเป็น 24 วนั
สลายตัวคร้งั ท่ี 4 ปรมิ าณธาตเุ หลอื อยู่ 12.5/2 = 6.25 แทนดว้ ย (N0/8)/2 = N0/16 = N0/24

 เวลาผา่ นไปอกี 8 วัน รวมเป็น 32 วัน
จะเห็นว่า ปริมาณธาตุที่เหลืออยู่ (Nn) เม่ือเวลา Tn ใด ๆ จะเท่ากับ ปริมาณธาตุเร่ิมต้น (N0)
หารดว้ ยสองยกกาลงั ดว้ ยจานวนครง้ั ของการสลายตวั (n) เขยี นเป็นสตู รคานวณได้วา่

Nn = N0/2n

เอกสารประกอบการสอน วิชาเคมี ม.4 ภาคเรียนท่ี 2/2563 เรยี บเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

70

ตวั อย่างการคานวณ
ธาตุ I-126 มีคร่ึงชีวิต 12 วัน หากนายดา ได้รับธาตุนี้เข้าไปในร่างกาย 16 กรัม เวลากี่วัน
ท่จี ะทาให้ธาตุ I-126 ในร่างกายนายดา เหลอื อยู่ 2 กรัม

วธิ คี ิดแบบท่ี 1 วิธีคิดแบบที่ 2
จากนิยามของ t1/2 ทาให้ทราบว่า I-126 จานวน จ า ก สู ต ร t1/2 = 12 วั น N0 = 16 ก รั ม
16 กรัม สลายตัวไปทีละคร่ึง จานวน 3 คร้ัง Nn = 2 กรมั ต้องการทราบ T = ?
ใช้เวลา ครงั้ ละ 12 วัน ดังแผนภาพ แทนคา่ ในสตู ร Nn = N0/2n เพ่ือหา n
ได้ว่า 2 = 16/2n
16 กรมั 12วนั  8 กรัม 12วนั  4 กรัม 12วนั  2 กรัม
2n = 16/2 = 8 = 23
ดังน้ัน เวลารวมท้ังหมดท่ี I-126 สลายตัวจาก n=3
ตอนเร่ิมต้น 16 กรัม จนกระท่ังเหลือ 2 กรัม จึงใช้ แทนค่าในสูตร T = n × t1/2 เพ่อื หา T
เวลาท้งั หมด (12 วัน/ครง้ั ) × 3 ครัง้ เท่ากับ 36 วัน ได้วา่ T = 3 × 12 วัน = 36 วัน
แ ส ด งว่า เว ล า ผ่ าน ไป 36 วั น จ ะ ท าให้
ธาตุ I-126 ในร่างกายนายดา เหลอื อยู่ 2 กรัม

2.8.6 ปฏกิ ิริยานิวเคลยี ร์
ปฏกิ ิริยานิวเคลยี ร์ เปน็ การเปลีย่ นแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปกมั มันตรังสี อาจเกดิ การ

แตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมท่ีมีขนาดใหญ่ หรือ เกิดการรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอมท่ีขนาดเล็ก
แล้วเกิดนิวเคลียสของธาตุใหม่ รวมทั้งมีพลังงานเก่ียวข้องกับปฏิกิริยาเป็นจานวนมหาศาล โดยสามารถแบ่ง
ปฏิกริ ยิ านวิ เคลียรไ์ ด้เปน็ 2 แบบใหญ่ คอื ปฏิกริ ยิ าฟชิ ชัน และ ปฏกิ ิริยาฟิวชนั ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

2.8.6.1 ปฏิกิรยิ านวิ เคลยี รฟ์ ชิ ชัน (Nuclear Fission reaction)
เป็นกระบวนการท่ีนวิ เคลยี ของธาตุหนัก (เลขมวลมากกว่า 200) แตกออกเป็นนิวเคลียสที่มี

ขนาดเล็กลง หรือ เป็นไอโซโทปของธาตุท่ีเบากว่า ซ่ึงการเกิดฟิชชันแต่ละคร้ังจะคายพลังงานออกมาจานวน
มาก และได้ไอโซโทปของธาตุใหม่หลายชนิด ยกตัวอย่างปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันของ Uranium-235
(U-235) ทถี่ กู ยงิ ดว้ ยอนภุ าคนวิ ตรอน ดังรูปที่ 2.32

รูปท่ี 2.32 ปฏกิ ิรยิ าฟชิ ชนั ของ U-235 เรียบเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

ทีม่ าของรปู : Raymond Chang, 2010

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563

71

จากรูปที่ 2.32 เมื่อยิงอนุภาคนิวตรอนไปยังนิวเคลียสของ U-235 นิวตรอนน้ันจะฝังเข้าไป
ในนิวเคลียสของ U-235 จากนั้นนิวเคลียสจะแตกออกเป็นนิวเคลียสใหม่ของ Sr-90 และ Xe-143 และ
นิวตรอนใหม่อีก 3 อนุภาค สามารถเขยี นสมการนิวเคลยี ร์ ได้ดังน้ี

U29325 + 01n → 9308Sr + 15443Xe + 3 01n + พลังงาน
นิวตรอน ให ม่ ท่ี เกิดขึ้น ยังสามารถไป ช น กับ นิ วเคลียสของ U-235 ท่ี เห ลืออยู่
จนเกิดปฏกิ ิริยาฟิชชันได้อยา่ งต่อเนอื่ ง เรียกว่า ปฏิกริ ิยานิวเคลยี ร์แบบลูกโซ่ (Nuclear Chain reaction)
ดังรูปท่ี 2.33

รูปท่ี 2.33 ปฏิกิริยานวิ เคลยี ร์แบบลูกโซ่ของ U-235

ท่มี าของรูป : Raymond Chang, 2010

ปฏิกิริยาฟิชชันที่เกิดภายใต้สภาวะที่เหมาะสม จะเกิดนิวตรอนเพิ่มขึ้นอย่ารวดเร็ว ทาให้
เกิดปฏิกิรยิ าไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และปล่อยพลังงานจานวนมหาศาล หากไม่สามารถควบคุมได้ ก็จะเกดิ การระเบิด
อย่างรุนแรง แต่ก็มีวิธีการควบคุมปฏิกิริยาได้หลายวิธี เช่น การควบคุมมวลของสารต้ังต้น การใช้โลหะ
แคดเมยี มหรอื โบรอนในการดักจบั นวิ ตรอนบางสว่ น เป็นต้น

ปฏิกิริยาฟิชชัน นามาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น การผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์ การผลิตไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีเพื่อใช้ในการเกษตร ใช้ในทางการแพทย์ และด้ าน
อุตสาหกรรม เป็นต้น

2.8.6.2 ปฏิกิริยานวิ เคลียร์ฟิวชนั (Nuclear Fusion reaction)
เป็นกระบวนการหลอมรวมกันของนิวเคลียสของธาตุเบา เกิดเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ท่ีมี

มวลเพ่ิมข้ึนและให้พลังงานออกมา โดยท่ัวไปจะให้พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาฟิชชัน ยกตัวอย่างการ
เกดิ ปฏิกิรยิ านวิ เคลยี ร์ฟวิ ชัน เชน่

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรยี บเรียงโดย อ.พลากร คาขวา

72

21H + 31H → 42He + 01n + พลังงาน
23He + 21H → 42He + 11H + พลงั งาน
63Li + 21H → 37Li + 11H + พลงั งาน
63Li + 21H → 42He + 42He + พลงั งาน
การเกิดนวิ เคลียรฟ์ ิวชนั จะเกิดไดท้ ีอ่ ุณหภูมิสงู มาก ๆ จึงอาจจะเรียกปฏิกิริยานใ้ี นอกี ชื่อหนึ่ง
วา่ Thermonuclear reaction (Chang, 2010)
ฟวิ ชันมขี อ้ ไดเ้ ปรียบกว่าฟชิ ชัน คือ คายพลังงานมาก สารตง้ั ตน้ ของปฏกิ ิริยาฟวิ ชันหาได้ง่าย
และมีปริมาณมาก และผลิตภัณฑ์จากฟิวชันเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตส้ันและอันตรายน้อยกว่า แต่ก็มี
ข้อจากัดคือ การเกิดฟิวชันจะเกิดได้ที่อุณหภูมิสูงมาก จึงต้องใช้พลังงานเร่ิมต้นสูง และยังควบคุมให้เกิด
อย่างต่อเนอ่ื งได้ยากอีกด้วย
ตัวอย่างความพยายามนาการเกิดฟิวชัน มาใช้ประโยชน์ คือ การสร้างโทคาแมค
(Tokamak) ซ่ึงเป็นเคร่ืองปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชัน ท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างโรงไฟฟ้าต้นแบบโดยอาศัย
ปฏิกิริยาฟวิ ชนั
โทคาแมค มีลักษณะคล้ายขนมโดนัท (ดังรูปที่ 2.34) ใช้สนามแม่เหล็กเป็นตัวควบคุม
พลาสมา (Plasma) ไม่ให้สัมผัสกับผนังของเคร่ืองปฏิกรณ์ เพราะพลาสมามีอุณหภูมิสูงมาก (พลาสมา
เกิดจากแกส๊ ที่เสยี อิเล็กตรอน กลายเปน็ ไอออนทมี่ สี ภาพการนาไฟฟ้าได้)

รปู ที่ 2.34 เคร่ืองปฏิกรณ์นวิ เคลยี รฟ์ ิวชัน “โทคาแมค”

ดดั แปลงรปู จาก : Raymond Chang, 2010

2.8.7 เทคโนโลยที ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการใช้สารกมั มนั ตรังสี
ปัจจุบันมีการนาสารกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม

การเกษตร และอนื่ ๆ อกี มากมาย ในที่น้ีจะขอแสดงใหเ้ หน็ เพียง 3 ตวั อย่าง ดังต่อไปน้ี
2.8.7.1 การรักษามะเรง็ ทีต่ ่อมลูกหมากระยะแพรก่ ระจายสู่กระดูก โดยใช้ Ra-223
ขั้นตอนการรักษา จะฉีดเรเดียม ในรูปของ Ra-223 dichloride เข้าทางหลอดเลือดดา

จากน้ัน Ra-223 จะไปเกิดสารเชิงซ้อนกับ hydroxyapatite ของกระดูก โดย Ra-223 มีค่าครึ่งชีวิต

เอกสารประกอบการสอน วชิ าเคมี ม.4 ภาคเรยี นที่ 2/2563 เรียบเรยี งโดย อ.พลากร คาขวา

[Update] EP.1 ตอนกำเนิด มนุษย์ดัดแปลงเพ… | คา เมน ไร เด อ ร์ โฟ เซ่ – Australia.xemloibaihat

COMMUNITY SUBTITLE TERMS AND CONDITIONS OF USE


These Community Subtitle Terms and Conditions of Use (these “Terms”) govern your access and use of community subtitle services (the “Services”) available on LINE TV mobile application and/or website available at https://tv.line.me (“LINE TV Platform”). 

The capitalized terms not defined but used herein have the meanings set forth in the LINE TV Terms and Conditions of Use.

1.  Your Agreement. 

By clicking “I accept Terms&Conditions and Privacy Policy”

 you acknowledge and confirm your agreement to these Terms together with the LINE TV Terms and Conditions of Use, Privacy Policy and any additional terms and conditions, guidelines, policy or similar document released or uploaded by us, which are incorporated herein by reference. If these Terms conflict with the LINE TV Terms and Conditions of Use, these Terms will take priority.


2.  Modifications. 

We may modify these Terms within the scope of the purpose of the Services, if we deem the modification necessary. In such case, we will notify you by posting the modified Terms and the start date of application on a readily available location within LINE TV Platform. The modification will become effective from the date of application specified by us.

3.  Services.  

   3.1  Subject to these Terms, we grant you a limited, non-exclusive, non-transferable, revocable permission for personal, non-commercial use of the Services to: (i) access television shows, movies, videos or other audio-visual content provided by us and third-parties (the “Content”); and (ii) access, participate and/or engage in a community of users of the Services including submitting subtitles for the Content using the methods provided by us.

   3.2  We reserve the right to modify, limit or discontinue the whole or any part of the Services at any time without prior notice and we will have no liability to you for any such unavailability.  

   3.3  The Services may contain links to third party websites that are not owned or controlled by us. We have no control over, and assume no responsibility for, the content, privacy policies, or practices of any third party websites. By using the Services, you expressly relieve us from any and all liability arising from your use of any third-party website.

4.   Subtitle Submissions.  

   4.1  The Services permit your submission of subtitles for the Content (the “Subtitle Submissions”) and the hosting, sharing, and/or publishing of such Subtitle Submissions.

   4.2  You agree that the following restrictions shall apply with respect to any Subtitle Submissions:

      A.   We do not guarantee any confidentiality with respect to any Subtitle Submissions and shall have no liability to you for any content posted in Subtitle Submissions; and

      B.   We will have the right, but not the obligation, to review the Subtitle Submissions and delete any Subtitle Submissions that violate these Terms and/or contain any of the following types of content (each a “Prohibited Submission”): (i) any content that violates, or promotes or encourages the violation of, any applicable law, court verdicts, resolutions or orders, or administrative measures that are legally binding; (ii) any content that hinders public order or customs; (iii) any content that infringes, impairs or defames any person’s intellectual property rights, image rights, privacy or data protection rights, or any other rights granted by applicable law; (iv) any content that includes any grossly offensive material, violent, coarse, sexual or anti-social expressions, or expressions that lead to discrimination by age, national origin, creed, sex, gender, social status, family origin, and/or expressions that induce or encourage suicide, self-harm, or drug abuse. We may also edit, restrict, suspend, or remove your Subtitle Submissions if we reasonably determine that such Subtitle Submissions are inappropriate. 

   4.3  You will be solely responsible for your own Subtitle Submissions and the consequences of posting or publishing them. You affirm, represent, and warrant that you own or have the necessary licenses, rights, consents, and permissions to publish your Subtitle Submissions and grant us the necessary rights. We will not be held liable for any loss or damage caused by your reliance on any Subtitle Submissions.

   4.4  You retain all your ownership rights in your Subtitle Submissions. However, by submitting the Subtitle Submissions to us, you hereby grant to us a non-exclusive, royalty-free, irrevocable, perpetual, unlimited, sub-licensable and transferable worldwide license to use, reproduce, distribute, exploit, prepare derivative works of, display, publish, broadcast, perform, import, commercialize, retain copies of, and otherwise transfer all copyright, inventions, and other intellectual property rights in the Subtitle Submissions in connection with the Services and our business, including without limitation for promoting and redistributing part or all of the Services (and derivative works thereof) in any form and media formats and through any media channels.

   4.5  If notified of an allegedly Prohibited Submission, we may investigate the allegation and determine in our sole discretion whether to remove the Subtitle Submission, which we reserve the right to do at any time and without notice.

5.   Termination. 

We reserve the right to terminate, suspend or block any or all features of your access or use of the Services at any time if we determine at our good faith discretion that you have committed a material breach of any terms of these Terms for reasons including, without limitation, copyright infringement, pornography, or obscenity.

6.   Exemption of Liability. 

We make no warranties or representations that the Services are free from de facto or legal flaws (including but not limited to stability, reliability, accuracy, integrity, effectiveness, fitness for a particular purpose, security-related faults, errors, bugs, or infringements of rights). We will not be responsible for providing the Services without such defects. We will not be responsible for any direct, indirect, special, incidental, consequential or punitive damages (including but not limited to such damages that could have been predicted) with respect to our contractual default or act of tort due our negligence (except for gross negligence).

7.   Notification and Contact.

  When we notify or contact you regarding the Service, we may use a method that we consider appropriate and is legal, such as posting notices within the Service. When you contact us, please use the inquiry form available on LINE TV Platform.

8.   Personal information. 

We will collect contact information submitted by you, including contributor name and email address, for the purposes of the Services and operating the Services. We will use such information to contact you on the review outcome, or to avoid abuse of the Services. We will appropriately handle privacy

information and personal information of yours in accordance with the

 

LINE TV Privacy Policy.

 

9.   Language, Governing Law and Jurisdiction.  

In the event of a contradiction between the English Version and Thai translation, the provisions in the English Version shall take precedence. These Terms and Conditions will be governed by the laws of Japan. Conflicts that arise from the Service or conflicts between Users and the Company related to the Service will be governed primarily under the exclusive jurisdiction of the District Court of Tokyo or the Tokyo Summary Court.

Last updated : November 26, 2020


Kamen Rider Revice Opening FULL – 『liveDevil』 by Da-iCE feat. Kimura Subaru + Lyrics


Kamen Rider Revice Opening FULL \”liveDevil\” by DaiCE feat. Kimura Subaru
\”Kamen Rider Revice\” Official Opening Theme
liveDevil by DaiCE feat. Kimura Subaru
Buy/Stream:
https://avex.lnk.to/KRR_liveDevil
Lyrics:
https://kamenrider.fandom.com/wiki/LiveDevil
Artist Official Links:
DaiCE
https://daice.jp/
https://twitter.com/Da_iCE_STAFF
Kimura Subaru
http://www.atomicmonkey.jp/jp/amprofile/kimura.html
https://twitter.com/GiantSUBAru
The Artwork Links:
Masukudo (Pixiv)
https://www.pixiv.net/en/users/423478
https://www.pixiv.net/en/artworks/93015946
Tokusatsu:
Kamen Rider Revice
https://kamenrider.fandom.com/wiki/Kamen_Rider_Revice
仮面ライダーリバイス KamenRiderRevice 仮面ライダー KamenRider

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Kamen Rider Revice Opening FULL - 『liveDevil』 by Da-iCE feat. Kimura Subaru + Lyrics

trở về tuổi thơ cùng kamen rider. W , OOO , Fourze


RG gaming là một kênh làm về các game nhẹ mà hay trên pc để các bạn có thể biết đến tựa game và lối chơi của game đó
Hãy đăng kí và nhấn vào nút chuông cạnh nút đăng kí để mình có nhiều động lực làm video hơn nha !!!
muốn trò chuyện j đó vs mình thì vào link https://www.facebook.com/nguyenhoang…. để trò chuyện vs mình nha. hihi ^^
fourze :https://anime47.com/xemphimkamenriderfourzeep01/90566.html
W https://anime47.com/xemphimkamenriderwep01/39661.html
OOO https://anime47.com/xemphimkamenrideroooep01/37079.html

trở về tuổi thơ cùng kamen rider. W  , OOO , Fourze

[AMV/MAD] – Kamen Rider W ~ W-B-X ~W Boiled Extreme~


Kamen Rider : Kamen Rider W
Song : WBX ~W Boiled Extreme~
Clip :
https://ryuzakilogia.net/kamenriderw/
Song :
https://youtu.be/6TVgGhURh5Y

[AMV/MAD] - Kamen Rider W ~ W-B-X ~W Boiled Extreme~

เรือจิ้งจอกยิงระเบิด 6-3-ปืนไก่ถล่ม-ลูกากูพาสิงห์แซงชนะ-ปรีวิวผีคืนนี้ | Siamsport Halftime 27.12.64


เรือจิ้งจอกยิงระเบิด 63! ปืนไก่นัดกันถล่ม! ลูกากูพาสิงห์แซงชนะ! ปรีวิวผีคืนนี้!
ติดตามข่าวบอลรอบวันในรายการ Siamsport Halftime

เรือจิ้งจอกยิงระเบิด 6-3-ปืนไก่ถล่ม-ลูกากูพาสิงห์แซงชนะ-ปรีวิวผีคืนนี้ | Siamsport Halftime 27.12.64

Kamen Rider Fourze All Henshin / Form / Finisher / Rider Armor / Zi-O Powers


▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
Join Group To Watch Kikai Sentai Zenkaiger Update Episodes:
https://www.facebook.com/groups/super.sentai.update
Join Group To Watch Kamen Rider Saber Update Episodes:
https://www.facebook.com/groups/kamen.rider.update
◢ 더 많은 사람들이 볼 수 있도록이 비디오를 소셜 사이트 (Facebook, Google+, Twitter 등)에 공유하십시오!
© 저작권 SuperSentai Korea
☞ 재업하지 마세요 © Copyright all rights reserved
© 저작권 : SuperSentai Korea
☞ 다시 업로드하지 마세요 © All rights reserved
Fouze KamenRider

Kamen Rider Fourze All Henshin / Form / Finisher / Rider Armor / Zi-O Powers

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คา เมน ไร เด อ ร์ โฟ เซ่

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *