[Update] บทความวิชาการ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous) | apicomplexa คือ – Australia.xemloibaihat

apicomplexa คือ: คุณกำลังดูกระทู้

❤▇[C]Cube Aquarium[A]▇❤


ออฟไลน์

Club Brother



บทความวิชาการ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous)

« เมื่อ: 28/07/13, [22:21:14] »

ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

…..มาเกริ่นซักนิดกันดีกว่าครับ เรียน วิชาโรคสัตว์น้ำมา เอานำมาเผยแพร่กันครับแบ่งปัน เผื่อมีประโยชน์ในการรักษาโรคเพิ่มขึ้นครับ
(KU 71 MNK 62)

Fish diseases and parasites vol.1

….มาเริ่มกันเลยนะครับ

 

สัตว์น้ำ

เชื้อโรค

 

สภาพแวดล้อม

คุณภาพสายพันธุ์สัตว์น้ำ
กรรมพันธุ์  

ความรุนแรงของเชื้อโรค
ปริมาณเชื้อโรค

 คุณภาพน้ำ
อาหาร
อุณภูมิ  

….มาเริ่มกันเลยนะครับ

ลักษณะทั่วไปของปลา
เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีลำดับวิวัฒนาการต่ำสุด
เป็นสัว์เลือดเย็นที่อาศัยอยู่ในน้ำ
(Poikiothermic animals) =ไม่มีระบบควบคุม การย่อยสลายพลังงานของร่างกายเพื่อให้อุณภูมิคงที่
มีโครงสร้างแบ่งภายใน ที่เรียกว่ากระดูกสันหลัง
มีจำนวนทั้งสิ้น 24,000 ชนิด มากสุดในสัตว์มีกระดูกสันหลัง

1. กลุ่มของปลาไม่มีขากรรไกร (Aqnatha or Jawless)
วิวัฒนาการต่ำสุด
พบอาศัยในน้ำจืดและนำกร่อย
ส่วนใหญ่ดำรงชีวิตเป็นปรสิต โดยการดูดเลือดสิ่งมีชีวิตเป็นอาหารเช่น Lamprey
บางพวกกินซากเป็นอาหาร เช่น Hagfish

2. กล่มปลากระดูกอ่อน(Chondricthyes or Elasmobranch)
มีโครงร่างแข็งแรงมีโครงสร้างเป็นกระดูกอ่อน
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในสภาพที่เป็นน้ำทะเลหรือน้ำกร่อย เช่น ฉลาม กระเบน โรนัน โรนิน

3. กลุ่มปลากระดูกแข็ง(Osteichthyes or Teleost)
Lobe-finned fish
Sarcopterygii เช่น Coelacanth เป็นปลาโบราณ

Ray-finned fish
Actinopterygii เช่น Bichir Stergeon Gars Boefin Teleost

                        สิ่มีชีวิตส่วนใหญ่มักมีต้นกำเนิดจากทะเล เพราะมีของเหลวเป็นสารประกอน NaCl
เป็นกลุ่มที่มีวิวัฒนาการสูงสุด และจำนวนมากที่สุด
พบได้ทั้งในน้ำจืดและ น้ำกร่อย และน้ำทะเล
ปลากดเคยอาศัยอยู่ในทะเลแล้วเปลี่ยนมาอยู่เป็นปลาน้ำจืดภายหลัง

Kingdom of Organism

1.Kingdom Monera
 Prokaiote ex. Bacteria and Blu-green algae
>>Bateria ก่อโรคมากที่สุดในกลุ่มนี้
2. Kingdom ProtistaProtozoa,Green algae, Chrysophytes, Brown algae, Red algae, Slime molds and True fungi
>>True fungi ก่อโรคมากที่สุดในกลุ่มนี้

มาเริ่มที่ Kingdom Protista เลยครับ [เจ๋ง]

Phylum Protozoaเป็นสิ่มมีชีวิตเซลล์เดียว
มีลักษณะคล้ายสัตว์เคลื่อนที่ได้
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำจืด น้ำเค็มบางชนิดอยู่ในดิน
พวกดำรงค์ชีวิตอิสระ
-กิน Bacteria สาหร่าย หรือโปรโตซัวอื่น เป็นอาหาร กินสารอินทรีย์ทั้งในสภาพมีชีวิตและไม่มีชีวิต ได้แก่ของเสีย มูลต่างๆ
วงจรการเกิดโปรโตซัวในน้ำแบบอิสระนะครับ
น้ำสกปรก>>สารอินทรีย์สูง>>แบคทีเรียมีมาก>>โปรโตซัว มากินแบคทีเรีย (มีมากด้วย)
-บางชนิดมีคลอโรฟิลล์ ซึ่งมี คลอโรพลาส (สังเคราะห์แสงสร้างอาหารเองได้)

พวกเป็นปรสิต
-มีโฮสต์ ตัวเดียว
-มีโฮสต์ หลายตัว

ขนาด2-70 micron(ไมครอน,ไมโครเมตร{1 micron= 0.001 มิลลิเมตร})

จำแนกได้ 7 กลุ่มตามโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ครับ (Cilia)

ก่อนจะจำแนกกลุ่มเรามาดูลักษณะทั่วไปกันก่อนนะครับ พวกโปรโตซัวรวมๆแล้วเขาเป็นยังไงกันบ้างครับ

GeneralcCharacteristics(ลักษณะทั่วไป)
การกินอาหาร(Feeding)>>กลืนกินของแข็งโดยใช้การยื่นโค้งเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์(Phagocytosis)
                                         การดิ่มของเหลวโดยการโค้งเว้าของส่วนที่เป็นเยื่อหุ้มเซลล์(Pinocytosis)
การขับถ่าย(Excretion)>>ใช้contractile vacuole เก็บของเสียที่ได้จากกระบวนการต่างๆภายในเซลล์ จากนั้นจะแพร่ออกจากฌวซล์ไม่มีอวัยวะขับถ่าย

ระบบสืบพันธุ์ (Reproduction)
อาศัยเพศ(Sexual)
-เกิดในสภาวะขาดแคลน สภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม
-มีการผลิต gametes (sperm+egg) บางตัวอาจมีทั้งเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียในตัวเดียวกัน

ไม่อาศัยเพศ(Asexual)
-การแบ่งเซลล์เดียว(Simple division) Amoeba, Giardia
-การแบ่งหลายเซลล์(Multiple division) Malaria
-การแบ่งนิวเครียส(Schizogony) แบ่งนิวเครียสก่อนแบ่งเซลล์(แบ่งcytoplasm) ex. Coccidia

มาถึงการแยกประเภทของProtozoa
Phylum **ที่ ตัวเน้นคือตัวที่เน้นเกิดโรคในตัวน้ำนะครับ
1.Sacomastigophora (25,000 sp.)>>เป็นกลุ่มใหญ่สุด
2.Apicomplexa (sporozoa 4,800)
Microspora (800)
3.Myxozoa(875)
4.Ciliophora (7,500)
Ascetospora (30)
Labyrinthomorpha (35)————————————————————————–
Phylum Sarcomastogophora (flagellated protozoa)
ใช้falagellum(หนวดเป็นเส้นยาวๆ)ในการเคลื่อนที่ อาจมีเพียงหนึ่งเส้นหรือหลายเส้นก็ได้

การดำรงค์ชีวิต
ปรสิต>>Protozoa ที่เป็นโรคเหงาหลับ sleepingsickness Trypanosoma
พึ่งพา>>Protozoa มนลำไส้ปลวก Trichonympha
สร้างอาหารเอง>>Protozoa ทีมีchloroplast เช่น Euglena sp.,Chlamydomonas sp.

ลักษณะสำคัญ
การเคลื่อนที่แบบใช้ pseudopodia (ใช้plasma membrane+cytoplasm ในการเคลื่อนที่)
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
มีนิวเครียสแบบเดียว(single type of nucleus)
(น่ารู้: Plasmodium ssp. >>เป็นกลุ่มที่บางสายพันธุ์ดำรงชีวิตเป็นปรสิตในมนุษย์)

Fish’s parasite แบ่งย่อยอีกเป็น4 family  n032
1. Family Blastodiniidae
2.Family Bodonidae
3.Family Crytptobidae
4.Family Trypanosomidae


ยังไม่เสร็จนะครับทำไปเรื่อยๆครับผมเป็นกำลังใจให้หน่อยนะครับเนื้อหาเยอะมากๆ จะพยายามย่อยๆมาครับและจะเติมรูปให้ภายหลังครับ ้hahaha

ลักษณะทั่วไปของปลาเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีลำดับวิวัฒนาการต่ำสุดเป็นสัว์เลือดเย็นที่อาศัยอยู่ในน้ำ(Poikiothermic animals) =ไม่มีระบบควบคุม การย่อยสลายพลังงานของร่างกายเพื่อให้อุณภูมิคงที่มีโครงสร้างแบ่งภายใน ที่เรียกว่ากระดูกสันหลังมีจำนวนทั้งสิ้น 24,000 ชนิด มากสุดในสัตว์มีกระดูกสันหลัง1. กลุ่มของปลาไม่มีขากรรไกร (Aqnatha or Jawless)วิวัฒนาการต่ำสุดพบอาศัยในน้ำจืดและนำกร่อยส่วนใหญ่ดำรงชีวิตเป็นปรสิต โดยการดูดเลือดสิ่งมีชีวิตเป็นอาหารเช่น Lampreyบางพวกกินซากเป็นอาหาร เช่น Hagfish2. กล่มปลากระดูกอ่อน(Chondricthyes or Elasmobranch)มีโครงร่างแข็งแรงมีโครงสร้างเป็นกระดูกอ่อนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในสภาพที่เป็นน้ำทะเลหรือน้ำกร่อย เช่น ฉลาม กระเบน โรนัน โรนิน3. กลุ่มปลากระดูกแข็ง(Osteichthyes or Teleost)Lobe-finned fishSarcopterygii เช่น Coelacanth เป็นปลาโบราณRay-finned fishActinopterygii เช่น Bichir Stergeon Gars Boefin Teleostสิ่มีชีวิตส่วนใหญ่มักมีต้นกำเนิดจากทะเล เพราะมีของเหลวเป็นสารประกอน NaClเป็นกลุ่มที่มีวิวัฒนาการสูงสุด และจำนวนมากที่สุดพบได้ทั้งในน้ำจืดและ น้ำกร่อย และน้ำทะเลปลากดเคยอาศัยอยู่ในทะเลแล้วเปลี่ยนมาอยู่เป็นปลาน้ำจืดภายหลัง1.Kingdom MoneraProkaiote ex. Bacteria and Blu-green algae>>Bateria ก่อโรคมากที่สุดในกลุ่มนี้,Green algae, Chrysophytes, Brown algae, Red algae, Slime molds and True fungi>>True fungi ก่อโรคมากที่สุดในกลุ่มนี้มาเริ่มที่เลยครับ [เจ๋ง]เป็นสิ่มมีชีวิตเซลล์เดียวมีลักษณะคล้ายสัตว์เคลื่อนที่ได้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำจืด น้ำเค็มบางชนิดอยู่ในดินพวกดำรงค์ชีวิตอิสระ-กิน Bacteria สาหร่าย หรือโปรโตซัวอื่น เป็นอาหาร กินสารอินทรีย์ทั้งในสภาพมีชีวิตและไม่มีชีวิต ได้แก่ของเสีย มูลต่างๆวงจรการเกิดโปรโตซัวในน้ำแบบอิสระนะครับน้ำสกปรก>>สารอินทรีย์สูง>>แบคทีเรียมีมาก>>โปรโตซัว มากินแบคทีเรีย (มีมากด้วย)-บางชนิดมีคลอโรฟิลล์ ซึ่งมี คลอโรพลาส (สังเคราะห์แสงสร้างอาหารเองได้)พวกเป็นปรสิต-มีโฮสต์ ตัวเดียว-มีโฮสต์ หลายตัวขนาด2-70 micron(ไมครอน,ไมโครเมตร{1 micron= 0.001 มิลลิเมตร})จำแนกได้ 7 กลุ่มตามโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ครับ (Cilia)ก่อนจะจำแนกกลุ่มเรามาดูลักษณะทั่วไปกันก่อนนะครับ พวกโปรโตซัวรวมๆแล้วเขาเป็นยังไงกันบ้างครับGeneralcCharacteristics(ลักษณะทั่วไป)การกินอาหาร(Feeding)>>กลืนกินของแข็งโดยใช้การยื่นโค้งเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์(Phagocytosis)การดิ่มของเหลวโดยการโค้งเว้าของส่วนที่เป็นเยื่อหุ้มเซลล์(Pinocytosis)การขับถ่าย(Excretion)>>ใช้contractile vacuole เก็บของเสียที่ได้จากกระบวนการต่างๆภายในเซลล์ จากนั้นจะแพร่ออกจากฌวซล์ไม่มีอวัยวะขับถ่ายระบบสืบพันธุ์ (Reproduction)อาศัยเพศ(Sexual)-เกิดในสภาวะขาดแคลน สภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม-มีการผลิต gametes (sperm+egg) บางตัวอาจมีทั้งเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียในตัวเดียวกันไม่อาศัยเพศ(Asexual)-การแบ่งเซลล์เดียว(Simple division) Amoeba, Giardia-การแบ่งหลายเซลล์(Multiple division) Malaria-การแบ่งนิวเครียส(Schizogony) แบ่งนิวเครียสก่อนแบ่งเซลล์(แบ่งcytoplasm) ex. CoccidiaมาถึงการแยกประเภทของProtozoa————————————————————————–Phylum Sarcomastogophora (flagellated protozoa)ใช้falagellum(หนวดเป็นเส้นยาวๆ)ในการเคลื่อนที่ อาจมีเพียงหนึ่งเส้นหรือหลายเส้นก็ได้การดำรงค์ชีวิตปรสิต>>Protozoa ที่เป็นโรคเหงาหลับ sleepingsickness Trypanosomaพึ่งพา>>Protozoa มนลำไส้ปลวก Trichonymphaสร้างอาหารเอง>>Protozoa ทีมีchloroplast เช่น Euglena sp.,Chlamydomonas sp.ลักษณะสำคัญการเคลื่อนที่แบบใช้ pseudopodia (ใช้plasma membrane+cytoplasm ในการเคลื่อนที่)สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีนิวเครียสแบบเดียว(single type of nucleus)(น่ารู้: Plasmodium ssp. >>เป็นกลุ่มที่บางสายพันธุ์ดำรงชีวิตเป็นปรสิตในมนุษย์)

« »


❤▇[C]Cube Aquarium[A]▇❤


ออฟไลน์

Club Brother



Re: บทความ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous)

« ตอบ #2 เมื่อ: 05/08/13, [18:23:01] »

ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

2. Family Bodonidae-ว่ายน้ำอิสระ
-ลักษณะลำตัวแบน กลมคล้ายไข่ ขนาด 50-1800 ไมครอน
-ไซโทรพลาสซึม มีลักษณะคล้ายถุงมือ ส่วนของ flagella มีส่วนเว้าคล้ายถุงมือ มีflagella 2เส้น
***ตัวที่สำคัญ
Ichthyobodo nector , Costa necatrix
“Costiasis”

การก่อโรค
ต้องอาศัยโอสต์ อยู่โดยปราศจากโฮสต์ไม่ได้
ใช้cytoplasmในการยึดเกาะดับตัวปลา
Eurythermic parasite (ดำรงชีวิตอยู่ในช่วงกว้าง(2-29องศา)(24-25องศา))
cytostome เคลื่อนที่ได้
การติดเชื้อจะแทรกอยู่ในชั้นเกล็ด
การติดเชื้อรุนแรงจะเกิดที่ผิวและเหงือก
ปลาที่เลี้ยงหนาแน่นจะมีการแพร่เชื้ออย่างรวดเร็ว (Epizootics)

อาการการติดเชื้อ
-doll spot จุดเล็กๆมัวๆ ถ้าติดมากจะอยู่รวมกันเป็นกระจุกใหญ่ๆ
-Redden or hemorrhagic บริเวณที่ติดเชื้อเกิดเป็นจุดแดง(ตกเลือด) ทำลายผนัง capillary ทำให้เกิดรอยรั่วเป็นจุดๆ
fin ถูกทำลาย ครีบกร่อน
-gillมีสีซีด มีการรวมกันของmucus เป็นจำนวนมาก
-lose their appetite(anorexia)= ความสูญเสียความอยากกินอาหาร
-moribund fish ปลาจะลอยหัวอยู่ที่ผิวน้ำ และว่าน้ำเชื่องช้า(sluggish) แล้วก็จะตายในที่สุด
-secondary invader ผู้บุกรุก มักทำให้เกิดโรคซ้ำซ้อน โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อรา(Fungus)
-Dark coloration ปลาจะแสดงอาการสีคล้ำ (ปลาสวยงามจะเห็นชัดเจนมาก)

การป้องกันและรักษา
-การควบคุมน้ำที่เข้าไปใช้ในการเลี้ยง และควบคุมความหนาแน่นของปลา เพราะจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการขับถ่ายของเสียของสัตว์น้ำซึ่งจะออกมาเป็นอาหารของprotozoa

การใช้ยา
1. NaCl
-Dips 30วินาทีที่ความเข้มข้น 25,000 ppm , สำหรับปลาตัวใหญ่  175,000 ppm 3 นาที
-Short bath 15-30 นาที ป้องกันพวกcortia เพิ่มจำนวน
-flush(พ่นยาผ่านตัว) 25,000 10-15 นาทีหรือน้อยกว่า

2. Glacial acetic acid
-Dip 2,000 ppm 60วินาทีหรือน้อยกว่า

3. Acriflavin
-100 ppm 2วัน

4.copper sulfate
-Dip 500 ppm 1-2 นาที
-long bath 0.5-1.00 ppm

5. Formalin
-170 ppm 60วินาที
-10-15 ppm แช่ยาว

-ว่ายน้ำอิสระ-ลักษณะลำตัวแบน กลมคล้ายไข่ ขนาด 50-1800 ไมครอน-ไซโทรพลาสซึม มีลักษณะคล้ายถุงมือ ส่วนของ flagella มีส่วนเว้าคล้ายถุงมือ มีflagella 2เส้น***ตัวที่สำคัญIchthyobodo nector , Costa necatrix”Costiasis”การก่อโรคต้องอาศัยโอสต์ อยู่โดยปราศจากโฮสต์ไม่ได้ใช้cytoplasmในการยึดเกาะดับตัวปลาEurythermic parasite (ดำรงชีวิตอยู่ในช่วงกว้าง(2-29องศา)(24-25องศา))cytostome เคลื่อนที่ได้การติดเชื้อจะแทรกอยู่ในชั้นเกล็ดการติดเชื้อรุนแรงจะเกิดที่ผิวและเหงือกปลาที่เลี้ยงหนาแน่นจะมีการแพร่เชื้ออย่างรวดเร็ว (Epizootics)อาการการติดเชื้อ-doll spot จุดเล็กๆมัวๆ ถ้าติดมากจะอยู่รวมกันเป็นกระจุกใหญ่ๆ-Redden or hemorrhagic บริเวณที่ติดเชื้อเกิดเป็นจุดแดง(ตกเลือด) ทำลายผนัง capillary ทำให้เกิดรอยรั่วเป็นจุดๆfin ถูกทำลาย ครีบกร่อน-gillมีสีซีด มีการรวมกันของmucus เป็นจำนวนมาก-lose their appetite(anorexia)= ความสูญเสียความอยากกินอาหาร-moribund fish ปลาจะลอยหัวอยู่ที่ผิวน้ำ และว่าน้ำเชื่องช้า(sluggish) แล้วก็จะตายในที่สุด-secondary invader ผู้บุกรุก มักทำให้เกิดโรคซ้ำซ้อน โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อรา(Fungus)-Dark coloration ปลาจะแสดงอาการสีคล้ำ (ปลาสวยงามจะเห็นชัดเจนมาก)การป้องกันและรักษา-การควบคุมน้ำที่เข้าไปใช้ในการเลี้ยง และควบคุมความหนาแน่นของปลา เพราะจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการขับถ่ายของเสียของสัตว์น้ำซึ่งจะออกมาเป็นอาหารของprotozoaการใช้ยา1. NaCl-Dips 30วินาทีที่ความเข้มข้น 25,000 ppm , สำหรับปลาตัวใหญ่ 175,000 ppm 3 นาที-Short bath 15-30 นาที ป้องกันพวกcortia เพิ่มจำนวน-flush(พ่นยาผ่านตัว) 25,000 10-15 นาทีหรือน้อยกว่า2. Glacial acetic acid-Dip 2,000 ppm 60วินาทีหรือน้อยกว่า3. Acriflavin-100 ppm 2วัน4.copper sulfate-Dip 500 ppm 1-2 นาที-long bath 0.5-1.00 ppm5. Formalin-170 ppm 60วินาที-10-15 ppm แช่ยาว

« »


❤▇[C]Cube Aquarium[A]▇❤


ออฟไลน์

Club Brother



Re: บทความ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous)

« ตอบ #3 เมื่อ: 05/08/13, [18:23:29] »

ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

3. Family Cryptobiidae
-shape คล้ายรูปสามเหลี่ยม หัวทู่
-นิวเครีสมี2อัน คือ kinetosome และ Kinetoplast
-มี flagellum 2เส้นคือ Shorter(leading) flagellum และ longer(Trailing) flagellum ไม่มี flagellum pocket
-ขนาด 5-24, 3-7 ไมครอน
-Cytoplasm มี foodvacuole ขนาดใหญ่ใช้ในการเก็บสะสมอาหาร และมี retractile granule ขนาดเล็กไว้เก็บของเสีย และขับออกนอกร่างกาย
-The single nucleus : spherical
-important species Cryptobia spp.

การก่อโรค
-เป็นปรสิตที่ต้องอยู่กับโฮสต์ตลอดเวลา ถ้าหลุดออกจาก host สามารถ อยู่แบบ free living ได้2-3 วัน
-Gill and skin เป็นบริเวณที่เกิดโรค(ในปลาน้ำจืด)
-ยึดจับโดยใช้ Trailing flagellum แทงเข้าไปในเหงือกหรือผิวหนังของปลา
Brackish water : Chanos chanos
freshwater : Cryprinus carpio, Carassius auratus(ปลาทอง) , Ctenopharyngodon idella (ปลาเฉา)
การตายมักไม่เกิดในปลาขนาดใหญ่ แต่จะเกิดในปลาวัยอ่อน (Fry)
-ไม่ได้ทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อเยื่อแต่ใช้เป็นที่เกาะในการกรองกินอาหารสารอินทรีย์
-ทำลายส่วนของเยื่อบุเหงือกเป็นหลัก ทำให้เกิดการอักเสบ (inflammation)เป็นหย่อมๆ เห็นว่ามีการบวมแดงของ เกิดเป็นสีขาว(หนอง) เศษศากของเม็ดเลือดขาวที่ตายแล้ว +เชื้อโรคที่ตายแล้ว(thrombosis การรวมตัวของเม็ดเลือดขาว)
-ติดเชื้อทากกับปลาขนาดเล็ก(fly fish) ปลาจะลอยผิวน้ำแล้วรวมกันที่ขอบบ่อ แล้วก็จะตาย

การป้องกันและรักษา
– ควบคุมสมดุลน้ำและ สัตว์น้ำที่จะนำลงเลี้ยง
 1. NaCl -Dips 30 วินาที ความเข้มข้น 25,000 ppm
                   3   นาที  ความเข้มข้น 175,000 ppm(ปลาตัวใหญ่)
           -Short baths 15-30 นาที ความเข้มข้น 10,000 ppm(ใส่ทุกวัน)
           -Flush treatment 25,000 ppm 10-15 นาที
2. CuSO4 +Fe2(SO4)3 2:5 พ่นลงบนผิวน้ำ ความเข้มข้น 7 ppm ใช้เวลาปลาลอยน้ำ ใช้กับ Costia
Cyptobia

« »


❤▇[C]Cube Aquarium[A]▇❤


ออฟไลน์

Club Brother



Re: บทความ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous)

« ตอบ #4 เมื่อ: 05/08/13, [18:23:50] »

ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

4. Family Trypanosomaidae
– รูปทรง: รูปร่างความยาว(Elongate with both ends tapering)
– มีแฟลกเจลลัมเส้นเดียว
– มี undulating membrane เป็นเยื่อบางๆคล้ายกับคลับเป็นข้อแตกต่างของ Cryptobia
– Nucleus อยู่ค่อนเคลื่อนไปทางหัว (Trpanosoma) ส่วน Cryptobia
-A spheriacal rod or disc shaped kinetoplast
– Crithidia stage เป็นระยะปรสิตที่อาศัยอยู่กับ intermediate host (host ตัวแรก) รูปร่างยังไม่โตเต็มวัน kinetosome and kinetoplast
– ขนาดใหญ่(50×25 mm.)
– Monoorphic in fish ดป็นโรคที่เกิดกับปลาชนิดนั้นเสมอ
– ชนิดที่สำคัญ Trypanosoma spp. เกิดsleeping sickness(โรคเหงาหลับ)
1. Trypanosoma ophicephali เกิดในกลุ่มปลาช่อน
2. Trypanosoma trichgasterae เกิดในกลุ่มปลาเสือปลากระดี่
-อยู่ในน้ำสกปรกได้

Pathogenicity การก่อโรค
-เป็นปรสิตที่ต้องการโฮสต์ 2 ตัว
– มีตัวส่งผ่านเชื้อเป็น ปลิง leech
1. vertical transmission ส่งผ่านเชื้อจาก แม่สู่ลูก
2. Horizontal transmission ส่งผ่านเชื้อจากสัตว์อื่น โดยการถูกกัด
– ส่งผ่านเชื้อโรคจะมืทำให้เกิดโรคอย่างรุนแรง
– เมื่อเชื้อโรคเข้าไปจะทำให้เกิดโรคAnemia เหงือกซีด ตัวซีด  ว่ายน้ำช้า(sluggish)
– Diagnosis การตรวจสอบโรค โดยการดูดเลือดปลามาทำการ smear เรียกว่า air-dried blood smear
Prophylaxis and Treatment
–   รักษายาก
–   ป้องกันโดยการกำจัดปลิงซึ่งเป็นพาหะ
–   ปลิงชอบยาฉุน ยาเส้นเปลือกทุเรียน ใช้ในการล่อจับ
Life cycle
–   อาศัยสิ่งมีชีวิต 2 ตัว : ปลิงเป็นintermediate host  ปลาเป็น final host
–   Crithidia stage อยู่ในปลิง, adult stage อยู่ในปลา
–   ปลิงดูดเลือดปลาทำให้ Trypanosoma เข้าสู้ตัวปลา

« »


❤▇[C]Cube Aquarium[A]▇❤


ออฟไลน์

Club Brother



Re: บทความ: โรคสัตว์น้ำ โปรโตซัว(by..PZ MINI Aqueous)

« ตอบ #6 เมื่อ: 17/08/13, [23:33:06] »

ตอบโดยอ้างถึงข้อความ

1. order chlamydodontidae
-ลำตัวกว้าง dorsoventrally flattened= แบนจากบนลงล่าง depress
– ventral surface adhering to substrate ใช้ผิวหนังส่วนท้องจับกับ substrate
– มี cilia หลายแถว ชอบเกาะตัวปลาที่ผิวหนังและเหงือก
– G. Chilodonella ที่สำคัญได้แก่ Chilodonella hexasticha
2. order Ophryogleniedae
– body oval
– uniformly cover with cilia
-มี มาโครนิวเครียส รูป horseshoe-shape
– Occuring in intagumental tissue of fish
– G. Ichthyophthirius ที่สำคัญได้แก่ Ichthyophthirius multifilis
– Ich tomite (tomite stage)—free swimming

Pathogenicity การก่อโรค
-White spot disease
-เชื้อโรคอยู่ในพรรณไม้น้ำและเศษอาหาร มากับไรแดง หนอนแดง
– ปลาขนาดเล็กได้รับผลกระทบรุนแรง
– ปลาจะเกิดอาการคับ irritate
– เนื้อเยื่อ Epithelium cells ของปลาถูกทำลาย
– หลอดเลือดเสียหายอาจจะทะลุกล้ามเนื้อทำให้เกิดการบวมได้

Prophylaxis and treatment =การป้องกันและรักษา
–   ทำการพักปลาทุกตัวก่อน quarantined จนกว่าจะปลอดเชื้อและปรสิต อย่างน้อยหนึ่งอาทิตย์
–   ส่วนของ treatment แบ่งออกเป็น2 stage
1.   Free-living stage
2.   Embedded stage
ตัวอิ๊ก มีผนังเซลล์เป็นเซลลูโลสที่หนามาก treat ยาก ต้องทำให้มวลน้ำเคลื่อนที่เพื่อให้พักตัวออกจาก Cyst
1.   NaCl > bath 30,000 ppm นาน 15-30 นาที
2.   Formalin> Intermidiate bath 25 ppm 3 ครั้ง/วัน วันเว้นวัน (on alternate day)
3.   Maclachite green> 0.1 ppm+ formalin 25 ppm (Intermediate bath) Synergistic ช่วยเสริมแรงซึ่งกันแลกัน(wound healing)
4.   KMnO4> 1-2 ppm

3.   Order Pecitrichidae
–   Shape: circular or subcuticular arrangement of cilia
–   แยกประเภทโดยใช้ stalks(Peduncle)
–   Some spiecies อยู่เป็นcolony
3.1   Suborder Sessilina
–   รูปร่างระฆัง(bell) หรือ รูปคอนโท(goblet)
–   เกินอาหารแบบ Bacterivores
–   มักเกิดขึ้นกับอวัยวะที่มีการเคลื่อนที่
3.2   Suborder Mobilina
–   รูปร่างเกือบกลม(hemispherical) มี internal ring เป็นบริเวณที่ตั้งของซี่ฟัน
–   Lack stalk เคลื่อนที่ได้

Fish parasite ciliate protozoas
Order Peritrichidae
1.   Suborder Sessilina
Family
Vorticellidae
Epistylidae
Scyphidiidae
2.   Suborder Mobilina
Family
Trichodinidae
Ophryoglenidae
Chlamydodontidae

1.   Suborder Sessilina
–   รูปร่างเหมือนระฆัง คอนโท goblet shape
–   มี stalk อยู่ด้านล่างของลำตัว(stalk at proximal) ด้านหัวจะมีcilia รายล้อมอยู่(cilia near distal end)
–   กรองกินแบคทีเรีย
–   เกาะอยู่บนผิวของตัวสัตว์น้ำ
Pathogenicity
–   เกาะบริเวณผิวหนังเป็นหลัก ไม่ชอบเกาะบริเวณที่มีเกล็ด
–   มักเจอในปลาวัยรุ่น(Juvenile fish) ในปลา รุ่นใหญ่ จะพบบริเวณผมหนัง, เหงือก, ครีบ, ช่องปาก
–   ถ้าเจอยู่เยอะเป็น colony (Dense colonization) ทำให้เน่าเปื่อยและเกิดการระค่ายเคือง
–   ปลาขนาดใหญ่จะไม่ทำให้ตาย
–   ถ้าไปเกาะมากบริเวณoperculum จะส่งผลต่อการหายใจ
–   ถ้าเกิดตอน hatchery จะเกิดการตายถึง 80%

1.   Suborder Sessilina
Famiuly
1.Family vorticellidae
G.vorticella
-solittary อยู่เดี่ยวๆ หุ่นผอมเพรียว
– มี stalk เห็นชัดเจน บริเวณหัวเป็นที่อยู่ของnucleus มี organelle  ที่ใช้ในการเก็บสะสมอยู่ 2 อัน
-เหมือนรัฆังคว่ำ ไม่มีสั เมื่อมีอายุไประยะหนึ่ง จะเริ่มมีสีเหลืองเขียว
– มีอวัยวะสำคัญคือ peritosome เหมือนปากมีขนาดใหญ่มีcilia รายล้อมอยู่รอบเป็นแถว
-การเรียงตัวของcilia เป็นแบบทวนเข็มนาฬิกา (counterclockwise) เรียงตัวไปจนถึงบริเวณcytostome peritosome เป็นส่วนหนึ่งของcytosome
– พบในพวกกุ้ง ปู
G Carachesium
-อยู่รวมกันเป็นกลุม colony ประกอบด้วยหลายเซลล์รวมกัน
-stalkเคลื่อนที่ได้ (stalk contractile) ก้านหลักเคลื่อนที่ได้ ก้านย่อยเคลื่อนที่ไม่ได้ เคลื่อนที่ได้เพราะมีมัดกล้ามเนื้อที่ยังไม่พัฒนา เรียกว่า myoneme
-รูปร่างคล้าย vorticella มีรูปร่างระฆังคว่ำ
-ขนาดใหญ่ colonies up to 4mm hight
-พบยึดเกาะกับปลาน้ำจืดเช่นปลาดุกด้าน, ปลาดุกอุย, ปลาสวยงามทะเล
2. Family Scyphidiidae
G scyphidia
-Solitary ไม่มี stalk มีรากหรือ peduncle มีความกว้างของฐานมากใช้จับกับ host
-Macronucleus เป็นรูปไข่(conical or oval)
3.Family Epistylidae
G. Epistylis
– colonial อยู่เป็นกลุ่ม รูปร่างเหมือน Carachium
-มีstalk เคลื่อนที่ไม่ได้ ไม่มี myoneme
-เหมือน Zoothamnium(มี Myoneme ก้านใหญ่และก้านเล็กสามารถหดตัวได้อิสระ)
Prophylaxis and treatment
Formalin
– bath 200 ppm เวลา 10 นาที
– Duration bath 10-15 ppm
Malachite green
-ใช้น้อยประมาณ 0.1 ppm
KMnO4
-Flush for 16 hrs ที่ 5ppm repeat as required

2.Suborder Mobilina
– แบนจากบนลงล่าง
– มี internalring เป็นที่อยู่ของ distinctive denticle รูปร่างคล้าย พิณ
– พบในปลาโดยเฉพาะผิวหนัง และเหงือก
-โครงสร้างเป็นunicelllular
1. Family Trichodinae
-ก่อให้เกิดปัญกาในปลาน้ำจืด รูปร่างกลมหรือแบนจากบนลงล่าง รูป bell –shape
– มี cilia 3 แถว คือ
1. Adoral cilia บนสุด
2. Marginal cilia อยู่ตอนกลาง
3. Lateral cilia ล่างสุด
– nucleus  ส่วนใหญ่เป็น horse shoe shaped macronucleus
 

« »

[NEW] อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) | apicomplexa คือ – Australia.xemloibaihat

อาณาจักรมอเนอรา 2

ความสำคัญของแบคทีเรีย

  1. ทำให้เกิดโรค มีแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคกับคน สัตว์ และพืช ตัวอย่างที่เกิดกับคน ได้แก่

                – ปอดบวม (bacterial pneumonia) เกิดจากเชื้อ Diplococcus pneumoniae

                – วัณโรค (tuberculosis) เกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis

                – โรคเรื้อน (leprosy) เกิดจากเชื้อ Mycobaccium leprae

                – บาดทะยัก (tetanus) เกิดจากเชื้อ Clostridium tetani

                – อหิวาตกโรค (cholera) เกิดจากเชื้อ Vibrio cholerae

                – คอตีบ (diphtheria) เกิดจากเชื้อ Corynebacterium diphtheriae

                – ไอกรน (whooping cough) เกิดจากเชื้อ Bordetella pertussis

                – ไทฟอยด์ (typhoid fever) เกิดจากเชื้อ Salmonella typhi

                – บิด (bacillary dysentery) เกิดจากเชื้อ Shigella dysenteriae

                – ซิฟิลิส (Syphilis) เกิดจากเชื้อ Treponema pallidum

                – อาหารเป็นพิษ (bacterial food poisoning) เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum

  1. ผลิตยาปฏิชีวนะ

                ยาปฏิชีวนะ หมายถึง สารเคมีที่ใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ โดยได้มาจากจุลินทรีย์ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อยับยั้งหรือทำลายการเจริญของจุลินทรีย์อีกชนิดหนึ่ง ปัจจุบันเราสามารถใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคต่าง ๆ เช่น คอเจ็บ ปอดบวม วัณโรค หรือโรคอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น

                     – สเตรปโตมัยซิน (streptomycin) ได้จากเชื้อแบคทีเรีย Streptomyces griseus ใช้รักษาวัณโรคโดยใช้ร่วมกับยาอื่น

                     – คลอแรมเฟนิคอล (chloramphenicol) ได้จากเชื้อ Streptomyces venezuelae ใช้ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียและริคเกตเซีย

                     – คานามัยซิน (kanamycin) ได้จากเชื้อ Streptomyces kanamyceticus ใช้ยับยั้งการเจริญของเชื้อวัณโรคโรคติดเชื้อในทางเดินของเชื้อวัณโรคโรคติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะไทฟอยด์และโรคบิด

  1. ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม

                ก. การทำน้ำส้มสายชู (vinegar) เป็นการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี 2 ขั้นตอน คือ การเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นเอทิลแอลกอฮอล์โดยยีสต์ และการเปลี่ยนเอทิลแอลกอฮอล์ให้เป็นน้ำส้มสายชู โดยแบคทีเรีย Acetobacter sp.

                ข. การผลิตวิตามิน เช่น วิตามินบี 12 ถ้าขาดจะทำให้เป็นโรคโลหิตจาง ในสมัยก่อนต้องใช้สารสกัดจากตับเป็นยาช่วยชีวิต ตัวอย่างแบคทีเรียที่สังเคราะห์วิตามิน B12 เช่น Bacillus megaterium, B. subtilis

                ค. การผลิตกรดอะมิโน จุลินทรีย์หลายชนิดสังเคราะห์กรดอะมิโนที่ได้จากสารอาหารต่าง ๆ มากเกินความต้องการ ตัวอย่างกรดอะมิโน ได้แก่ ไลซีน (L-lysine) ซึ่งอาศัยเชื้อ Enterobacter aerogenes และกรดกลูตามิก (L-glutamic acid) ซึ่งอาศัยเชื้อ Micrococcus sp., Arthrobacter sp. ในการผลิต

                ง. การผลิตกรดอินทรีย์ เช่น กรดแลกติก (lactic acid) ใช้คาร์โบไฮเดรตเป็นสารตั้งต้นแล้วนำมาย่อยให้โมเลกุลเล็กลง อาจใช้สารตั้งต้นพวกแป้งข้าวโพด มันฝรั่ง กากน้ำตาลหรือเวย์ (whey) จะต้องใช้แบคทีเรีย Lactobacillus bulgaricus ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นกรดแลกติกได้

  1. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากนม (milk product)

                ก. นมหมัก (fermented milk) โดยเดิมเชื้อแบคทีเรียลงในนมเป็นหัวเชื้อหมัก starter จะสร้างกรดแลกติกทำให้นมมีรสเปรี้ยว เช่น โยเกิร์ต (yogurt) ได้แก่ Streptococcus lactis, S. thermophilus,  Lactobacillus bulgaricus

                ข. เนยเหลว (butter) ทำจากไขมันในนม โดยนำนมมาปั้นไขมันจะรวมตัวเป็นเม็ด กรองเอาส่วนที่เป็นน้ำออก นำไขมันมาเติม starter ได้แก่ Streptococcus lactis ร่วมกับ Leuconostoc citrovorum

                ค. เนยแข็ง (cheese) ด้วยการทำให้นมเป็นก้อนโดยเดิมหัวเชื้อ ได้แก่ S. lactis หรือ S. cremoris เติมเอนไซม์เรนนิน ทำให้นมจับเป็นก้อนดีขึ้นและแยกส่วนออก นำไปไล่ความชื้น และใส่เกลือและนำไปบ่มด้วยแบคทีเรียหรือรา

  1. ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ จุลินทรีย์ช่วยย่อยซากอินทรีย์ให้อยู่ในรูปสารอนินทรีย์ที่พืชนำไปใช้ได้ แบคทีเรียจึงมีความเกี่ยวข้องกับวัฏจักรของสารต่าง ๆ ในธรรมชาติ เช่น วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรคาร์บอน วัฏจักรซัลเฟอร์

  2. มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ จุลินทรีย์บางชนิดช่วยตรึงในโตรเจนในอากาศให้เป็นเกลือไนเตรต ที่พืชนำไปใช้ได้เพื่อการเจริญเติบโต เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium) ที่อยู่ที่ปมรากพืชตระกูลถั่ว

  3. มีประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าในสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น พันธุศาสตร์ ชีวเคมี สรีรวิทยาของเซลล์ เนื่องจากมีช่วงชีวิตสั้นสืบพันธุ์ได้เร็วโดยเฉพาะปัจจุบันศึกษาทางพันธุวิศวกรรมในแบคทีเรียพวก Escherichia coli กันมากเนื่องจากมีพลาสมิดซึ่งเป็น DNA รูปวงแหวนเป็นเกลียวคู่อยู่นอกโครโมโซม ซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียตัวอื่นได้

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (blue green algae) หรือไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) มีลักษณะสำคัญดังนี้

  1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสแบบเดียวกับแบคทีเรียจึงจัดเป็นพวกโพรคาริโอต

  2. สังเคราะห์ด้วยแสงได้ เพราะมีคลอโรฟิลล์เอแต่ไม่รวมกันเป็นเม็ดคลอโรพลาสต์ นอกจากนี้ยังมีรงควัตถุอื่น ๆ คือ บีตาคาโรทีน (b-carotene) ไฟโคไซยานิน (phycocyanin) และไฟโคอิริทริน (phycoerythrin) จึงทำให้สาหร่ายมีสีต่าง ๆ เช่น สีเทา เขียว ม่วง น้ำตาล แดง เป็นต้น

  3. พบทั้งที่เป็นเซลล์เดี่ยวหรืออยู่เป็นโคโลนี (colony) หรืออยู่ในลักษณะเป็นสาย (filament) จึงมักเรียกรวม ๆ กันว่า ตะไคร่น้ำ ซึ่งจะทำให้บริเวณนั้นลื่นเพราะสายของสาหร่ายมักมีเมือกหุ้ม

  4. การสืบพันธุ์ยังเป็นแบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) ซึ่งในพวกเซลล์เดียว ๆ จะแบ่งตัวจาก 1 เป็น 2 ไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นโคโลนี เพราะแต่ละเซลล์มีเมือกหุ้มพวกที่เป็นสายสืบพันธุ์โดยการหักออกเป็นท่อน ๆ (fragmentation) บางชนิดสืบพันธุ์โดยการสร้างเซลล์พิเศษ เช่น อะไคนีท (akinete) ซึ่งเป็นสปอร์ที่มีความทนทาน บางชนิดสร้างเซลล์คล้ายซีสต์ ที่เรียกว่า เฮเทอโรซีสต์ (heterocyst) ซึ่งเข้าใจว่ามีหน้าที่ในการตรึงไนโตรเจน

ภาพที่ 1 โครงสร้าง Heterocyst ที่พบในสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
ที่มา: Reece & et al (2017)

  1. อาหารสะสมเป็นพวกแป้งของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินโดยเฉพาะ (cyanophycean starch) เพราะมีลักษณะคล้ายไกลโคเจน

  2. ส่วนใหญ่พบอยู่ในน้ำจืด พบบ้างในน้ำกร่อยหรือน้ำทะเล

ภาพที่ 2 ตัวอย่างสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน
Chroococcales: (a) Chroococcus subnudus, (b) C. limneticus, (c) Cyanothece aeruginosa, 
(d) Snowella litoralis, (e) Microcystis aeruginosa. II. Pleurocapsales: (f) Pleurocapsa minor. 
III. Oscillatoriales: (g) Planktothrix agardhii, (h) Limnothrix redekei, (i) Arthrospira jenneri, 
(j) Johanseninema constricum, (k) Phormidium sp., (l, m) Oscillatoria sp., (n) Schizothrix sp., 
(o) Tolypothrix sp., (p) Katagnymene accurata., IV. Nostocales: (q) Dolichospermum planctonicum, (r) Dolichospermum sp., (s) Nostoc sp., (t) Nodularia moravica. 
V. Stigonematales: (u, v) Stigonema sp. 
Scale bar a–u = 10 lm, v = 20 lm. (Color figure online)
ที่มา: https://www.researchgate.net

           สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินบางชนิด สามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนจากอากาศแล้วเปลี่ยนให้เป็นสารประกอบไนโตรเจนได้ ได้แก่ แอนาบีนา (Anabuena) นอสตอก (Nostoc) ปัจจุบันมีการนำสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินบางชนิดมาเพาะเลี้ยงเพื่อผลิตปุ๋ยชีวภาพ บางชนิดมีโปรตีนสูงสามารถสกัดนำมาเป็นอาหารโปรตีน ได้แก่ สไปรูไลนาหรือสาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina) มีโปรตีนสูงถึง 55-65% (น้ำหนักแห้ง) ปัจจุบันมีอุตสาหกรรมสกัดโปรตีนจากสาหร่ายชนิดนี้และอัดแห้งทำเป็นเม็ดคล้ายยา หรือใส่เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารเสริม

           ประโยชน์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินยังเป็นผู้ผลิต (producer) ที่มีความสำคัญมากในห่วงโซ่อาหารของระบบนิเวศ โดยจะเป็นอาหารของสัตว์จำนวนมากอีกด้วย แต่ถ้ามีมากเกินไป (bloom) อาจจะส่งผลทำให้เกิดน้ำเน่าเสียส่งผลกระทบทำให้สิ่งมีชีวิตในน้ำตายได้

แหล่งที่มา

ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. (2556). High School Biology ชีววิทยา ม.4-6 เล่ม 5(รายวิชาเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

Reece, Jane B. Urry, Lisa A. Cain, Michael L. Wasserman,Steven A. & Minorsky, Peter V. (2017). Campbell Biology. 11th ed.  New York: Pearson Education.

Species concepts and speciation factors in cyanobacteria, with connection to the problemsof diversity and classification – Scientific Figure on ResearchGate. Available from:

https://www.researchgate.net/figure/llustration-of-morphological-diversity-in-cyanobacteria-Groups-orders-follow-Rippka-et_fig1_273009665 [accessed 16 Nov, 2019]

 


Return to contents


អ្វីទៅជា API? What is API?


អ្វីទៅជា API? What is API?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

អ្វីទៅជា API? What is API?

อาณาจักรฟังไจ


อาณาจักรฟังไจ

Biology: Cell Structure I Nucleus Medical Media


Subscribe to the Nucleus Biology channel to see new animations on biology and other science topics, plus short quizzes to ace your next exam: https://bit.ly/3lH1CzV
For Employees of Hospitals, Schools, Universities and Libraries: Download 8 FREE medical animations from Nucleus by signing up for a free trial: http://nmal.nucleusmedicalmedia.com/freetrialmembershipb
This animation by Nucleus shows you the function of plant and animal cells for middle school and high school biology, including organelles like the nucleus, nucleolus, DNA (chromosomes), ribosomes, mitochondria, etc. Also included are ATP molecules, cytoskeleton, cytoplasm, microtubules, proteins, chloroplasts, chlorophyll, cell walls, cell membrane, cilia, flagellae, etc.
0:07 What is a cell?

0:35 What are the 2 categories of cells?
1:22 What is an Organelle? DNA, Chromatin, Chromosomes
2:06 Organelles: Ribosomes, Endoplasmic Reticulum
2:59 Organelles: ER function, Vesicles, Golgi Body (Apparatus)
3:50 Organelles: Vacuole, Lysosome, Mitochondrion
4:45 Organelles: Cytoskeleton
5:04 Plant Cell Chloroplast, Cell Wall
5:43 Unique Cell Structures: Cilia
Watch another version of this video, narrated by biology teacher Joanne Jezequel here: https://youtu.be/cbiyKH9uPUw

cell nucleus biology

Watch other Nucleus Biology videos:
Controlled Experiments: https://youtu.be/D3ZB2RTylR4
Independent vs. Dependent Variables: https://youtu.be/nqj0rJEf3Ew
Active Transport: https://youtu.be/ufCiGz75DAk

Learn more about the company that created this video: http://www.nucleusmedicalmedia.com/
https://www.instagram.com/nucleusmedicalmedia
This animation won a Platinum Best of Show Aurora Award in 2016.

Biology: Cell Structure I Nucleus Medical Media

ขั้นตอนการติดตั้ง Facebook Pixel สำหรับ Conversion API


ปัจจุบัน Seller ขายสินค้าจากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็น Marketplace Social Network หรือจะเป็น eCommerce Platform\r
\r
ซึ่ง Seller อาจจะ พบปัญหาโดยไม่ทราบว่า Order เหล่านั้นมาจากไหน?\r
\r
ขายสินค้าจากช่องทางนั้นๆ ได้เท่าไหร่ หรือ สินค้าออกจากคลังสินค้าไปเท่าไหร่? \r
\r
หากคุณพบปัญหาเหล่านั้นอยู่ให้ \”xCommerce\” ช่วยคุณสิค่ะ!!!\r
\r
xCommerce ระบบสำหรับร้านค้าหลายช่องทาง\r
ไม่ว่าคุณจะขายผ่าน Facebook, Line@, Instagram, Magento, WooCommerce หรือใน Lazada, 11street และอีกมากมาย สามารถจัดการได้ที่นี่ที่เดียว!!\r
ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย เพิ่มยอดขายให้ไว้ใจเรา \r
\r
xCommerce ระบบขายหลายช่องทาง\r
สมัครใช้งานได้เลย https://www.xcommerce.co.th/\r
สอบถามรายละเอียดที่ Line@ : https://goo.gl/gbRx5d\r
หรือแอด Line มาที่ @xCommerce (อย่าลืมใส่ @นำหน้า)

ขั้นตอนการติดตั้ง Facebook Pixel สำหรับ Conversion API

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร


บนโลกใบใหญ่นี้ มีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด หลากหลายสายพันธุ์ นับกันไม่ถ้วน
คุณอาจรู้จักสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่อย่างช้าง เสือ ปลาวาฬ…
แต่กับสิ่งมีชีวิตเล็กๆ อีกหลายชนิดที่เรามองเห็นแต่อาจไม่รู้จัก หรือบางชนิดอาจมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นนั้น
เรารู้จักเพื่อนร่วมโลกเหล่านี้มากน้อยเพียงไร
มาทำความรู้จักกับ “ปรสิต” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่คนทั่วไปอาจจะเรียกว่า “พยาธิ” กัน
พยาธิคืออะไร? ทำไมต้องอยู่อาศัยในร่างกายของเราด้วยนะ!?
ในรายการ “ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร”
โดยวิทยากร ดร. วิวรพรรณ สรรประเสริฐ
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
http://www.siamreview.com/
https://www.facebook.com/SiamReview/

ปรสิตน้อยกลอยใจ ตอนที่ 1: ปรสิตคืออะไร

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ apicomplexa คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *