[Update] วิธีการ คำนวณความต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน | สัญลักษณ์ ตัวต้านทาน – Australia.xemloibaihat

สัญลักษณ์ ตัวต้านทาน: คุณกำลังดูกระทู้

  • , Glen Ballou, Editor

  • [Update] วิธีการ คำนวณความต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน | สัญลักษณ์ ตัวต้านทาน – Australia.xemloibaihat

  • , Glen Ballou, Editor


  • หน้าที่ของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ตอนที่ 1 ตัวต้านทาน และไดโอด (วิทยาศาสตร์ ม. 3 เล่ม 2)


    วีดิทัศน์การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ตอนที่ 1 ตัวต้านทาน และไดโอด รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6 ไฟฟ้า บทที่ 2 ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน)
    วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของสสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://proj14.ipst.ac.th/

    นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

    หน้าที่ของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ตอนที่ 1 ตัวต้านทาน และไดโอด (วิทยาศาสตร์ ม. 3 เล่ม 2)

    ตัวต้านทานเบื้องต้น EP1(ตัวต้านทานคืออะไร ? ทํางานอย่างไร ?)


    สามารถสนับสนุนช่อง ZimZim ง่ายๆ
    ซื้อสินค้าอะไรก็ได้ผ่าน Shopee 👉 https://shp.ee/2isipgp
    ซื้อสินค้าอะไรก็ได้ผ่าน Lazada 👉 https://bit.ly/3purC3J
    เป็นสมาชิกของช่อง https://bit.ly/3b39LIL
    สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้ เพื่อสนับสนุนทางช่อง
    https://www.youtube.com/channel/UCvd12QePqaLfM9ezfSscjkA/join
    สวัสดีครับยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ช่อง ZimzimDiy วันนี้ผมจะมาอธิบาย เกี่ยวกับ ตัวต้านทานกัน ครับ
    ตัวต้านทานคือ ?
    ตัวต้านทาน เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ชื่อมันก็บ่งบอกถึงตัวมันโดยตรงเลยนะครับ นั้นก็คือ ตัวมันจะยังคงเป็นตัวนำไฟฟ้าอยู่ แต่มีการ ต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ค่ามากค่าน้อย ก็อยู่ที่เราจะเลือกซื้อมาใช้งาน เป็นที่นิยมใช้กันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบัน
    ชื่อภาษาอังกฎษก็คือ Resister คนไทยนิยมเรียกตัว R
    สัญลักษณ์ในวงจรของ ของตัวต้านทานที่เราเห็นส่วนใหญ่ จะมีอยู่กัน 2 แบบแรกจะใช้ ในยุโรป EU และก็แบบนี้ เป็นแบบ ใน อเมริกัน US
    แต่ที่เราคุ้น เคยที่เห็นบ่อยๆ ก็คงจะเป็น สัญลักษณ์แบบอิมริกัน นี่แหละครับ
    หน่วย วัดค่าความต้านทานคือ Ohms สัญลักษณ์ก็คือเป็นตัว กรีกโอเมก้าแบบนี้
    ก่อนจะลงลึกถึง ตัวต้านทาน เรามาเข้าใจ
    แนวคิดเรื่องไฟฟ้า กันก่อนนะครับ
    ผมจะยกตัวอย่าง สายไฟเส้นหนึ่งเป็นสาย ทองแดง ละกันนะครับ สายทองแดง เป็นตัวนำไฟฟ้าชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบของ อิเล็กตรอนอิสระอยู่หนาแน่น แล้วมันพร้อมที่จะเคลื่อนที่ไปไหนมาไหนได้ตลอดเวลา
    ขอเพียง มีความต่างศักย์ หรือ แรงดันไฟฟ้า มาต่อระหว่างปลายสายทั้งสองด้าน กระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายก็จะเริ่มไหลออกมา จากขั้ว ลบ ผ่านสายทองแดง ไปหาขั้ว บวก ได้อย่างรวดเร็ว
    อย่างไรก็ตามแม้ว่า สายทองแดง สามารถพาอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านสายไฟได้ไปมาได้ดี
    แต่หลายๆกรณี อุปกรณ์โหลด ไม่ต้องการกระแสมาก เราก็จะใช้ ตัวต้านทานนี่แหละครับมา ดรอปกระแส จากแหล่งจ่าย
    ให้มันเหลือเท่า ที่โหลดร้องขอ ส่วนกระแสที่เหลือ มันก็จะกลายเป็นความร้อนตกคร่อม อยู่ที่ตัวต้าน ทาน ยิ่งมีความต้านทานมาก R ก็จะร้อนมากเช่นกัน
    โลหะแทบทุกชนิด นำกระแสได้ดี แต่
    วัสดุบางชนิด อิเล็กตรอนมันก็ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เช่นกัน
    ที่เราเห็นก็จะเป็น พวก แก้ว พลาสดิก เซรามิก วัสดุพวกนี้ ก็เลยไม่ได้รับเลือกให้เป็นผู้นำ
    เนื่องจากมัน ไม่มีอิเล็กตรอน อิสระ เพียงพอที่จะ นำไฟฟ้าได้
    เราก็เลยจับ วัสดุเหล่านี้ มาเป็น ฉนวนหุ้มสายไฟ ป้องกันไฟดูด ไว้ซะเลย
    แต่บางทีโลหะ มีขนาดเท่ากันก็จริง แต่วัสดุที่ สร้างแตกต่างกัน เช่นตัวหนึ่งทำมาจากทองแดงตัวหนึ่งทำมาจากเหล็ก
    การนำไฟฟ้า ก็จะต่างกัน เนื่องจาก เหล็ก นำไฟฟ้าได้ แต่มี การจัดวาง อะตอมไม่ค่อยดี เท่าทองแดง
    มันก็เลย เหมือน สร้างอุปสรรคให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ลำบากกว่าหน่อยๆ เหล็กก็เลยมีความต้านทานมากกว่า ทองแดง นิดหน่อย
    สิ่งที่ต้านทานของเหล็กนี้ มันจะมีค่าของมันด้วยนะครับ เราจะเรียกค่าเหล่านี้ว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของวัตถุ ถ้าค่าวัตถุมีค่า สัมประสิทธิ์น้อย ความต้านทานจะต่ำ
    ถ้าค่า สัมระสิทธิ์ของวัตถุมีค่ามาก ความต้านทานก็จะมากตามครับ
    ผมจะลองทดสอบ ตัวต้านทาน ที่ผมผลิตขึ้นมาใช้เอง
    R ตัวนี้ มีค่าประมาณ 6869 kโอห์ม แต่คงไม่มีใครอยาก เชื่อมต่อมะม่วงสุกเข้ากับ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ใช่ไหมครับ
    มันไม่สะดวก มันน่าจะนำไปบริโภคมากกว่า วิศวะกรก็เลย ใช้ วัสดุอื่นที่ต้านทานกระแส และทำงานได้ดีพอๆกับมะม่วงสุก เอามาใส่แทน ก็เลยได้ ได้ตัวต้านทานหน้าตาแบบนี้ ขนาดก็ประมาณ 68 kโอห์ม เท่ามะม่วงของผม มาใช้งาน แทน ครับ
    นอกจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว ก็ยังมีปัจจัยอื่นๆ ทั้ง ความยาวและความกว้าง ของวัตถุ ก็ล้วนแล้วส่งผลถึง ความเร็วของอิเล็กตรอน ในการเดินทางด้วย
    ผมจะยกตัวอย่างอีกหนึ่งชุดละกันนะครับ ผมให้ น้ำเป็นกระแส และ ให้ท่อน้ำ เป็นขนาดของวัตถุ
    ถ้าเรามีความยาวของท่อเพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนมันก็ต้อง พยายาม มากขึ้น ใช้เวลานานขึ้น เพื่อที่จะผ่านความยาวของท่อมาให้ได้
    พูดง่ายๆก็คือ วัตถุที่ยาวก็จะมีความต้านทานมากขึ้น แต่ในทางกลับ กัน ถ้าเราเพิ่มเส้นผ่านศูนย์กลาง ของท่อ ให้ใหญ่ขึ้น
    แม้ว่าค่าสัมประสิทธิ์ ความต้านทานจะเท่าเดิม
    แต่ความกว้างของท่อก็ช่วยให้ การไหลของอิเล็กตรอนไหลถึงแม้จะช้า แต่มันกว้าง มันก็เลยไหลผ่านได้มาก ครับ
    พูดง่ายๆ ก็คือ ยิ่งพื้นที่ หน้าตัดของวัตถุ มีมากขึ้น มันก็ส่งผลให้ การไหลของกระแสมากขึ้น
    ซึ่งจากที่ผม อธิบายมาข้างต้น ถ้าเราอยากให้มีความต้านทาน ที่สูงมาก ๆ ตามทฎษฎี แล้ว เรา ก็สามารถ สร้างความต้านทานโดยใช้วัสดุที่บางมาก ๆ เพื่อให้มี
    ค่าความต้านทานสูง แต่ในความเป็นจริง จริงๆแล้ว
    การออกแบบ มันจะยากมาก ทั้ง ความค่าความแม่นยำ และก็ขนาด ที่เล็กมากของมัน

    เพราะฉะนั้น
    ตัวต้านทาน ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน หลักๆสามารถทำได้ 3 วิธีดังนี้
    วิธีแรก ก็คือ การใช้ ลวดนิกเกิล พันในหลอดเซรามิกที่เป็นฉนวน
    ด้วยวิธีนี้ คุณสามารถควบคุมค่าความต้านทานทั้งหมด ได้ โดยปรับเปลี่ยนความยาวของสาย ถ้าอยากให้มีความต้านทานมาก็เพื่มจำนวนรอบเข้าไป วิธีนี้ ข้อดีก็คือ มันยังสามารถ ยังคงขนาด ตัวต้านทานที่กระทัดรัดเอาไว้ได้ ในกรณีที่มีค่าความต้านทานที่มากก็ตาม

    ตัวเลือกที่สอง คือการเลือกใช้วัสดุผสม ในการปรับเปลี่ยน กำหนดปริมาณค่าสัมประสิทธิ์
    และดังนั้นค่าของความต้านทาน จะอยู่ที่วัสดุที่มาผสม เป็นหลัก
    และตัวเลือกที่สาม คือการใช้กระบอกเซรามิกที่หุ้มด้วยฟิล์มคาร์บอน ซึ่งถูกตัดเป็นเกลียว จนได้ค่าความต้านทานที่ต้องการ
    มันจะคล้ายๆกับวิธีแรก นั้นแหละครับ แต่เปลี่ยนจาก ลวดนิกเกิล เป็น ฟิล์ม คาบอร์น
    และตัวต้านทาน มีอยู่หลากหลายค่า
    เช่น ค่าความต้านทาน 0โอห์ม ไปจนถึง 10โอห์ม จนไปถึง 100โอห์ม เรียงๆกันไป 1,000โอห์ม 10,000โอห์ม 100,000โอห์ม จนไปถึง 1,000,000 โอห์ม
    ขอบคุณข้อมูล จากอินเทอร์เน็ต:
    The Engineering Mindset

    ตัวต้านทานเบื้องต้น EP1(ตัวต้านทานคืออะไร ?  ทํางานอย่างไร ?)

    ElecTech #002: Resistors ตัวต้านทาน ชนิดและการอ่านวัดค่า


    วิดีโอนี้ฉันจะแสดงตัวต้านทาน (Resistor) ว่ามีกี่ชนิด การคำนวณและอ่านวัดค่าต่างๆ ฉันจะพูดเกี่ยวกับตัวต้านทานที่ใช้จำกัดกระแสไฟฟ้า การใช้เป็นตัวแบ่งแรงดันการแบ่งกระแสและงานอื่นๆสำหรับผู้เริ่มเรียนรู้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
    ค่าสีต่างๆของรีซิสเตอร์ 02:08
    สัญลักษณ์ของรีซิสเตอร์ 10:05
    ชนิดต่างๆของรีซิสเตอร์ 10:29
    การต่อวงจรของรีซิสเตอร์ 26:57
    วัดค่าแรงดันและกระแสในวงจรของรีซิสเตอร์ 38:37

    Subscribe เพื่อเป็นกำลังใจและกดกระดิ่งเพื่อแจ้งเตือนคลิปใหม่ๆกันด้วยนะครับ
    facebook เพจ : https://www.facebook.com/SamanTechnician/?modal=admin_todo_tour

    ElecTech #002: Resistors ตัวต้านทาน ชนิดและการอ่านวัดค่า

    สรุป การต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม แบบขนาน | TUENONG


    สรุป เนื้อหา การต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม และ แบบขนาน
    สูตร การต่อตัวต้านทาน ในการหาความต้านทานรวมทั้ง อนุกรม และ ขนาน รวมถึงสมบัติของ การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม และ การต่อตัวต้านทานแบบขนานอีกด้วย
    รับน้องโมจิไปเลี้ยง ซื้อเลย !
    https://line.me/S/sticker/14546743
    0:00 การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
    1:07 ตัวอย่างการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
    2:12 สมบัติการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม
    3:54 การต่อตัวต้านทานแบบขนาน
    4:36 ตัวอย่างการต่อตัวต้านทานแบบขนาน
    6:00 สมบัติการต่อตัวต้านทานแบบขนาน
    อ่านเนื้อหาฉบับเต็มบนเว็บไซต์ได้เลยที่
    https://tuenongfree.xyz/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b8%95%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%99/
    Facebook Page
    https://www.facebook.com/TuenongTH/
    ติดต่องานสอนพิเศษ
    น้องๆที่ต้องการปูพื้นฐานใหม่ เพิ่มประสบการณ์ เพิ่มทักษะ ให้พี่ดูแลเป็นพิเศษ สามารถติดต่อสอบถามงานสอนได้ที่
    Line (มี @ ด้านหน้า) : @pir1836k

    สรุป การต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม แบบขนาน | TUENONG

    Resistor type comparision by photo มารู้จัก ตัวต้านทาน ชนิดต่างๆ จะเปรียบเทียบให้ดู


    อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานเช่น ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ ( คาปาซิเตอร์ ) มีวีดีโอในช่อง ELECTECH_88 ไปที่ช่อง Youtube แล้วกดดู Playlist …. Resistor type comparision by photo เปรียบเทียบ ตัวต้านทาน ชนิดต่างๆ ป้องกันการระบุชนิด R ผิดประเภท Resistor type comparision Wirewound Resistor Carbon Resistor Carbon Film Resistor Metal Film Resistor Metal Oxide Resistor 电阻器 รีซิสเตอร์ ข้อมูลสำหรับช่างซ่อม ช่างอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์     อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เรียนอิเล็กทรอนิกส์

    Resistor  type  comparision by photo มารู้จัก   ตัวต้านทาน   ชนิดต่างๆ   จะเปรียบเทียบให้ดู

    นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

    ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สัญลักษณ์ ตัวต้านทาน

    Leave a Reply

    Your email address will not be published. Required fields are marked *