[Update] แผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้ำของไทย พ.ศ. 2560-2564-Flip eBook Pages 101 – 150 | ท่อง โลก ไดโนเสาร์ ตอน ทา ร์ โบ ซอ รัส – Australia.xemloibaihat

ท่อง โลก ไดโนเสาร์ ตอน ทา ร์ โบ ซอ รัส: คุณกำลังดูกระทู้

85
ภาพท่ี 3.1 ผลกระทบด้านปัจจยั ทางเศรษฐกจิ ในระดบั โลกใน ปี ค.ศ. 2015 (จ้านวนนกั ท่องเท่ียว จ้านวน

แรงงาน รายได้ และรายไดป้ ระชาชาติของโลกในด้านการทอ่ งเท่ียวเรอื สา้ ราญ)

ที่มา: Cruise Industry Outlook (December 2016)
การทอ่ งเท่ียวเรอื สาราญจึงถือเป็นการทอ่ งเที่ยวทางน้าท่ีเจาะกลุ่มนักท่องเทย่ี วคุณภาพ ท่ีสนใจเดินทางไป

ท่องเท่ียวโดยเรือสาราญเพ่ือเยี่ยมชมเมืองท่าต่าง ๆ การจัดการการท่องเท่ียวเรือสาราญจึงมีหลากหลายมิติ ไม่ใช่
แค่การพัฒนาท่าเรือเท่านั้น แต่จะต้องพัฒนาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวอ่ืน ๆ ควบคู่กันไป เม่ือบริบทการ
ท่องเที่ยวเรือสาราญเปล่ียนไปดังท่ีกล่าวข้างต้น การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทุกภาคีที่เกี่ยวข้องต้อง
แสดงบทบาทและหน้าที่ในการขับเคลื่อนและประสานงานผ่านนโยบายและกลยุทธ์ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์การท่องเที่ยวเรือสาราญโลก ถ้าพิจารณาจากความสามารถของการท่องเท่ียวเรือสาราญ จะเห็นได้ว่า
จากภาพ 3.2 แสดงถึง ศักยภาพของภาคบริการ หรือศักยภาพในการบรรจุผู้โดยสารบนเรือมีศักยภาพท่ีสูงมากถึง
25.8 ล้านคนตอ่ ปี

86

ภาพที่ 3.2 ศกั ยภาพการบรรจผุ โู้ ดยสารบนเรือสา้ ราญในระดับโลกระหว่าง ปี ค.ศ. 2009-2016

ทม่ี า: Cruise Industry Outlook (December 2016)

ดังน้ัน ข้อมูลดังกล่าวสามารถเป็นตัวชี้วัดที่สาคัญในธุรกิจเรือสาราญเป็นท่ีรู้จักในประเทศไทยมากว่า 3
ทศวรรษ หน่วยงานภาครัฐต้องเร่ิมและมีความต้ังใจในการกาหนดนโยบายภายใต้แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียว
ทางน้าหรือพัฒนาการท่องเท่ียวเรือสาราญในประเทศไทย (สาเหตุท่ีไม่มีการขับเคลื่อนการท่องเท่ียวประเภทน้ี
เพราะหน่วยงานภาครัฐมองว่านักท่องเที่ยวเรือสาราญส่วนใหญ่มาเที่ยวเช้า-เย็นกลับ จึงนับเป็นนักทัศนาจร
(Excursionist) ไมใ่ ชน่ ักท่องเที่ยว (Tourist) ด้วยเหตุผลในการคิดในเชิงจานวนนักท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว) โดย
ภาคเอกชนไม่ควรเป็นผู้ขับเคล่ือนโดยลาพัง แต่ภาครัฐต้องเข้ามาจัดการภายใต้ข้อจากัดต่าง ๆ ในขณะท่ีหลาย
ประเทศมีการขับเคล่ือนผ่านนโยบายที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาท่าเรือและปัจจัย
เกี่ยวข้องอ่ืน ๆ เพ่ือขับเคล่ือนและแย่งชิงความได้เปรียบ โดยเฉพาะสัดส่วนของตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ปัญหาของข้อจากัดท่ีภาครัฐควรพิจารณา คือ หน่วยงานที่เก่ียวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจในธุรกิจเรือ
สาราญ เพราะฉะน้ันภาครัฐควรจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเรือสาราญ เช่น การก่อตั้ง
คณะกรรมการจากทุกภาคีเพ่ือขับเคลื่อนและประสานการทางานร่วมกันแบบบูรณาการเพื่อกาหนดแผนระยะส้ัน
ระยะกลาง และระยะยาว กาหนดงบประมาณในการพัฒนาตามลาดับความสาคัญ เพื่อสร้างโอกาสและรายได้จาก
อุตสาหกรรมประเภทน้อี ย่างเปน็ รปู ธรรมและชดั เจน โดยเฉพาะแนวคดิ การตงั้ คณะกรรมการของการท่องเที่ยวทาง
นา้ อย่างเชน่ ในประเทศแคนาดา

87

ภาพที่ 3.3 ความต้องการของการทอ่ งเทยี่ วเรอื ส้าราญระดบั โลกในช่วงปี ค.ศ. 2005-2015

ท่มี า: Cruise Industry Outlook (December 2016)

จากภาพ 3.3 แสดงถงึ ความตอ้ งการของการท่องเทีย่ วเรอื สาราญในช่วงปี ค.ศ. 2005-2015 โดยจะเห็นว่า
ระดับความต้องการของนักท่องเที่ยวมีระดับที่เพิ่มข้ึนร้อยละ 62 ซึ่งจัดว่าเป็นระดับความต้องการที่สูง ปัจจัย
ดังกลา่ วไดส้ ะทอ้ นถงึ โอกาสในการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วทางน้า แต่การดาเนินนโยบายการท่องเที่ยวทางน้า
ของประเทศไทยจะต้องมีแผนแม่บทการพัฒนาและยุทธศาสตร์ท่ีสะท้อนถึงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลไทยยังไม่กาหนดนโยบายที่ชัดเจน โอกาสของการกระตุ้นรายได้ของภาคเอกชนด้านการ
ท่องเท่ียวและการจัดเก็บรายได้ก็จะมีแนวโน้มท่ีลดลง ระดับการแข่งขันก็จะไม่สามารถสะท้อนถึงการแข่งขันใน
ระดับภูมิภาคใด ๆ ได้ เหตุผลดังกล่าวนามาซ่ึงการตัดสินใจของภาครัฐในการเริ่มนโยบายดังกล่าวและถือเป็น
Road Map (มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559) ท่ีเป็นทางการในเร่ืองแนวทางการพัฒนาท่า
เทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพื่อการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) เพราะได้กาหนดท้ัง

88

ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการออกมาอย่างชัดเจน โดยมติคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาถึงปัจจัยด้านการ
ลงทุนและรายได้ท่ีจะไดร้ บั จากการลงทุน โดยแนวทางของการพัฒนาการท่องเท่ียวเรือสาราญ ได้แก่ (1) รับทราบ
ความก้าวหน้าในการพิจารณาแนวทางการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการ
ท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) (2) เห็นชอบแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ
(Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) (3) มอบหมายกระทรวงการคลัง (กค.)
โดยกรมธนารักษ์เร่งพิจารณาหาผู้ประกอบการท่าเรือน้าลึกภูเก็ตเพ่ือให้สามารถปรับปรุงท่าเรือน้าลึกภูเก็ตให้มี
ความพร้อมในการรองรับเรือโดยสารเพ่ือการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) ได้โดยเร็ว โดยมีสาระสาคัญของเร่ือง
คอื กรมเจ้าทา่ ได้เสนอแนวทางการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการท่องเที่ยว
ขนาดใหญ่ (Cruise) ซ่ึงสรุปสาระสาคญั ได้ ดงั นี้23

1. ทา่ เทยี บเรอื สาราญ (Yacht) ปจั จบุ นั ประเทศไทยมีท่าเทียบเรือ Yacht ทง้ั หมด 11 แห่ง กระจายอยู่ใน
บริเวณจังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตราด ชลบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงกรมเจ้าท่าได้เคยศึกษาความเหมาะสมทาง
เศรษฐกิจ วศิ วกรรมและสิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื ก่อสรา้ งท่าเทียบเรือ Yacht บริเวณชายฝ่ังทะเลอ่าวไทยและอันดามัน เมื่อ
ปี พ.ศ. 2547 พบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาท่าเทียบเรือ Yacht ได้ในพ้ืนท่ี 33 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ทะเล
อันดามัน 11 แห่ง (ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบ่ี ตรัง และสตูล) และพื้นท่ีทะเลอ่าวไทย 22 แห่ง (สมุทรปราการ
ชลบุรี ระยอง จันทบรุ ี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ ชมุ พร สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี และ
นราธิวาส)

2. ท่าเทียบเรือโดยสารเพื่อการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีท่าเรือโดยสารเพ่ือ
การท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) เป็นการเฉพาะ โดยต้องเทียบท่าผ่านท่าเทียบเรือสินค้า เช่น ท่าเรือกรุงเทพ
ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือน้าลึกภูเก็ต ซึ่งไม่มีส่ิงอานวยความสะดวกที่สอดคล้องกับความต้องการของเรือ
Cruise เช่น ทัศนียภาพของท่าเทียบเรือ การตรวจคนเข้าเมือง ร้านค้าและสถานบริการต่าง ๆ เป็นต้น และพื้นที่
อ่ืน ๆ ไม่มีท่าเทียบเรือที่สามารถรองรับเรือ Cruise ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องใช้วิธีการทอดสมอกลางทะเล
และใหผ้ โู้ ดยสารลงเรอื เลก็ เพอ่ื ขึ้นฝ่ังตอ่ ไป

อย่างไรกต็ าม แม้ว่าประเทศไทยจะไม่มีท่าเทียบเรือท่ีสามารถรองรับเรือ Cruise เป็นการเฉพาะ โดยต้อง
เทยี บทา่ ผ่านท่าเทียบเรอื สนิ ค้า แต่จากกาหนดการการท่องเที่ยวด้วยเรอื Cruise ในปี พ.ศ. 2558 ที่แจ้งไว้ล่วงหน้า
พบว่า มีเรือ Cruise เข้ามาท่องเที่ยวอย่างต่อเน่ือง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพการท่องเที่ยวของประเทศไทยด้วย
เรือ Cruise และเรือ Cruise ส่วนใหญ่จะจอดแวะพักที่ท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังเฉลี่ยประมาณ 2 วัน
ในขณะที่พ้ืนที่อ่ืน ๆ เรือ Cruise จะเป็นเพียงการจอดแวะพักแบบเช้าเย็นกลับ ซ่ึงเรือ Cruise ที่เข้ามาในประเทศ

23 เอกสาร ผลการประชมุ คณะรัฐมนตรใี นสว่ นทีเ่ กี่ยวข้องกับกระทรวงคมนาคม (28 กรกฎาคม 2558) ฉบับท่ี 245/2558

89

ไทยเป็นการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์มากที่สุด โดยเป็นการท่องเท่ียวที่มีจุดเริ่มต้นหรือ
จดุ ส้นิ สดุ การเดินทางทที่ า่ เรอื สิงคโปร์ คดิ เป็นร้อยละ 80.9

กล่าวโดยสรุป ถ้าพิจารณาจากปัจจัยทางเศรษฐกิจในระดับโลก ภูมิภาค และระดับประเทศจะเห็นได้ว่า
โอกาสในการสร้างรายได้ให้กับประเทศมีระดับท่ีสูงมาก โดยเฉพาะการจ้างงาน รายได้ในภาคการท่องเที่ยวและ
ภาคบริการ และรายได้ของภาครัฐ ซ่ึงปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวเอ้ือต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าใน
ประเทศ โดยเฉพาะระดับการแข่งขันการท่องเท่ียวเรือสาราญในตลาดโลกท่ีสูงข้ึนซ่ึงนามาสู่แหล่งรายได้ท่ีสูงข้ึ น
เช่นกัน ดังน้ัน ภาครัฐของไทยจะต้องศึกษาเพ่ือกาหนดพ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสมจะพัฒนาเป็นท่าเทียบเรือ Yacht
เพิ่มเติม พร้อมท้ังรับฟังความเห็นจากประชาชนในพ้ืนที่และทดสอบตลาด (Market Sounding) เช่น (1) การ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย/ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องเพื่ออานวยความสะดวกแก่เรือ Yacht และบุคคลที่เข้ามากับเรือ
Yacht (2) จัดมหกรรมเรือ Yacht เพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางมารีน่าของอาเซียน (Thailand :
Marina Hub of ASEAN) และ (3) พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้าและสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยวทางทะเลและ
ธุรกจิ ตอ่ เนือ่ ง ตลอดจนกระตุ้นเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

1.3 การท่องเทย่ี วริมฝัง่ แมน่ า้ และทะเลในระดบั โลก ภูมภิ าค และประเทศไทย

ปัจจัยทางเศรษฐกิจในระดบั โลก

การแข่งขันในระดับโลกน้ันโดยเฉพาะการท่องเที่ยวริมฝั่งแม่น้ามีความสาคัญกับรายได้ของภาครัฐ
โดยเฉพาะการขับเคล่ือนการแข่งขันการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางบริเวณแม่น้าในด้านการเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ
และทางวัฒนธรรม ท่ีโดดเด่น โดยเน้นด้านการอนุรักษ์ให้แก่ประชาชนและธุรกิจในท้องถิ่นเป็นหลัก การแข่งขันที่
สะท้อนถึงรายได้ของภาครัฐ เอกชน และชุมชน ดังกล่าว ภาครัฐในแต่ละประเทศจะต้องคานึงถึงการแข่ งขันใน
ระดับโลก โดยเน้นการใช้กลยุทธ์กับการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวทางแม่น้า ซึ่งสามารถ
แบง่ ไดเ้ ป็นการสรา้ ง พฒั นา ฟืน้ ฟู และเชอื่ มโยงแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วอ่นื ๆควบค่กู ัน โดยการจากัดจานวนนักท่องเที่ยวให้
เหมาะสมกับศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว เพ่ือเป็น การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวไม่ให้เส่ือมโทรม และรักษา
คุณค่าด้านการท่องเท่ียวทางน้า โดยการแข่งขันที่สะท้อนการได้เปรียบนั่น รัฐจะต้องมีการดาเนินการในการสร้าง
จุดแข็งเพ่ือการแข่งขันในระดับโลก โดยเฉพาะ การแข่งขันในระดับที่สูงของแหล่งท่องเที่ยวแม่น้าในสหภาพยุโรป
อนภุ มู ภิ าคแมโ่ ขง และในแถบประเทศเอเชีย โดยเฉาะประเทศสิงคโปร์ และมาเลเซีย เป็นต้น โดยรัฐที่ประสบได้มี
ความสาเรจ็ นัน่ จะต้องดาเนนิ กลยุทธ์ท่สี าคัญเบอ้ื งต้นดงั นี้

1. พฒั นาศักยภาพในการรองรบั นักท่องเท่ยี วทางนา้ ที่สาคัญๆ เช่น การเพิ่มจานวนส่ิงอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ ในการเดินทางและการท่องเท่ียวทางน้า เช่น สถานท่ีพักแรม โครงสร้างพ้ืนฐานในการอานวยความสะดวก

90

สาหรบั การเดนิ ทาง สนับสนุนแหลง่ ท่องเท่ียวต่างๆเพื่อช่วยผู้ประกอบการในการดาเนินกิจกรรมการท่องเท่ียวทาง
นา้ เป็นตน้ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั ปริมาณนักทอ่ งเทย่ี ว

2. ศึกษาโครงการควบคุมผลกระทบจากการท่องเท่ียวทางน้าต่อชุมชนด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสงิ่ แวดลอ้ ม

3. การส่งเสริมและสนับสนุนให้จังหวัดต่างๆการจัดทาแผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้าของจังหวัด
และกลมุ่ จังหวัดให้มีความสอดคล้องเช่ือมโยงกบั แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเที่ยวระดับประเทศและการบูรณการใน
ระหว่างประเทศ

4. ขอความร่วมมือจากหน่วยงานและประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณ
ร่วมกัน ให้จัดสรรงบประมาณโดยพิจารณาจากโครงการท่ีอยู่ในแผนแม่บทที่บรรจุการท่องเท่ียวทางน้าในระดับ
กลุ่มความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ

5. พัฒนาความร่วมมือด้านการท่องเท่ียวตามพันธกรณีระหว่างประเทศ โดยการส่งเสริมให้นักธุรกิจด้าน
การท่องเท่ยี วไทยทม่ี คี วามพรอ้ ม ขยายการลงทุนและการให้บริการไปสู่ต่างประเทศต่างๆ มากขึ้น เช่น ดาเนินการ
ด้านการออก Joint Visa หรือ Single Visa

6. ริเร่ิมและผลักดันภารกิจและกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวทางน้าท่ีส่งเสริมการเช่ือมโยง แหล่งท่องเท่ียว
ระหวา่ งประเทศ (Connectivity) และการพัฒนาความโดดเด่นของคุณภาพการท่องเท่ียวทางน้า (Water-Quality
Tourism) เช่น การศึกษาและส่งเสรมิ ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในอินโดจีน และความร่วมมือกับ
ประเทศในภมู ภิ าคเพ่ือสร้างเส้นทางการทอ่ งเท่ยี วที่เชอ่ื มโยงกนั

7. สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวให้มีความรู้ความสามารถในการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การอบรมสัมมนา และการแลกเปล่ียนข้อมูลและองค์ความรู้ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะ ความสัมพันธ์ระหว่ าง
แหล่งทอ่ งเท่ียวทางนา้ และการยกระดบั รายไดเ้ ชิงบรู ณการในระดบั อนภุ มู ภิ าค

91

1.4 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวริมแม่น้าและทะเลเพ่ือยกระดับการแข่งขันในระดับโลก
ส้าหรบั ประเทศท่พี ัฒนาแลว้ 24

ในปัจจุบัน สถานภาพของพื้นท่ีริมน้าส่วนใหญ่ทั่วโลกอยู่ในสองสถานะ คือ เสื่อมโทรมและถูกทิ้งร้าง
(Deterioration of Waterfronts) ซ่ึงพบได้ในประเทศกาลังพัฒนาหรือประเทศที่ขาดกลไกการวางแผนและ
พฒั นาเมืองท่ีมีประสิทธิภาพซึ่งส่งผลให้เมืองและประเทศสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ และอีกหน่ึงสถานะคือพื้นที่
รมิ นา้ ที่ไดร้ บั การฟื้นฟแู ละพัฒนาเพื่อเป็นกลไกทางเศรษฐกิจและสังคมของเมือง (Rediscovery of Waterfronts)
ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้สอยเดิมของพื้นที่ริมน้าให้เกิดศักยภาพทางสังคมและเศรษฐกิจสูงสุด เช่น การวาง
แผนพัฒนาพื้นที่แบบองค์รวมโดยให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ระบบนิเวศของแหล่งน้าและบริบท
แวดล้อม การกาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษและส่งเสริมการสร้างพื้นท่ีใช้งานแบบผสม ( Mixed-Use
Development) การส่งเสริมการลงทุนและการให้สิทธิพิเศษทางภาษีกับการลงทุนแบบรัฐร่วมเอกชน (Public-
Private Partnership) การกาหนดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกและการรักษาสิทธ์ิในการเข้าถึงพ้ืนท่ีริมน้าของ
ประชากรเมืองอย่างเท่าเทียมกัน พ้ืนท่ีริมน้าท่ีได้รับการฟ้ืนฟูและพัฒนาเช่นนี้ทาให้ศักยภาพหลายด้านของเมือง
เดน่ ชดั มากขึ้น เชน่ การเกดิ พ้นื ท่เี ศรษฐกิจใหมข่ องเมือง การขยายตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ การเพิ่มทางเลือก
ของพ้ืนท่ีอยู่อาศยั และการประกอบธรุ กจิ การค้นพบอาคารสาคัญทางประวัติศาสตร์ที่สามารถนามาปรับเปลี่ยนให้
เกดิ การใช้สอย (Adaptive Reuse) ร่วมสมยั หลายเมอื งใหญใ่ นโลกมีพื้นท่ีริมน้าเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทาง
วัฒนธรรมและเศรษฐกจิ สง่ ผลให้เกิดกระแสดงึ ดูดการท่องเท่ยี วเพอ่ื สัมผสั ประสบการณ์พืน้ ท่ีริมนา้ ระดับโลก

พนื ที่ร้างรมิ น้าจากการผลิตและการขนส่งในอดีต

ด้วยความจาเป็นทางธรรมชาติ การต้ังถิ่นฐานของมนุษย์ต้ังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จาเป็นต้องพ่ึงพา
พ้ืนท่ีริมน้าเพ่ือให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ตั้งแต่การบริโภค การหาอาหาร และการใช้แม่น้าลาคลองเป็น
โครงข่ายสัญจรตามธรรมชาติที่มนุษย์ใช้งานมาเป็นเวลาช้านาน ส่ิงเหล่านี้ทาให้กระบวนการเปล่ียนแปลงพ้ืนที่
ธรรมชาติเป็นพ้ืนที่เมืองเกิดข้ึนบริเวณพ้ืนท่ีริมน้าเป็นส่วนใหญ่ การต้ังเมืองหลวงและเมืองสาคัญของโลกใน
ช่วงเวลาตอ่ มาลว้ นมีแนวคดิ เชิงยุทธศาสตร์เพื่อใช้ศักยภาพของพื้นที่ริมน้า ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เพ่ือความมั่นคง พื้นที่
เพ่ือการพาณิชย์ พ้ืนที่เพื่อการเดินทางขนส่ง และพ้ืนที่เพ่ือการอุตสาหกรรม ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้น
คริสต์ศตวรรษที่ 20 การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีบทบาททาให้เกิดพื้นท่ีการผลิตท่ีใกล้กับพื้นท่ีริมน้าเพื่อการขนส่ง
สินคา้ พืน้ ทีด่ งั กลา่ วจึงกลายเป็นพน้ื ที่ภาคอตุ สาหกรรมทม่ี ศี กั ยภาพสงู ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ และ
เม่ือเศรษฐกิจการค้าเกิดข้ึนบนพื้นที่น้ี พ้ืนที่ศูนย์กลางเศรษฐกิจของทุกเมืองในโลกจึงต้ังอยู่ในตาแหน่งท่ีใกล้พ้ืนท่ี
รมิ น้านั่นเอง

24 ผศ.ดร.พีรดร แก้วลาย อ้างอิงจาก http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/CoverStory/22925

92

เม่ือถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 20 รถยนต์และโครงข่ายถนนกลายเป็นทางเลือกใหม่ของการพัฒนา
ประเทศ ภาคอุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตแบบจานวนมากต่างย้ายท่ีตั้งไปแถบชานเมืองบนท่ีดินราคาถูกกว่า การ
ขนส่งด้วยรถขนาดใหญ่บนโครงข่ายถนนและการขนส่งระบบรางท่ีแผ่ออกไปทุกภูมิภาคอย่างรวดเร็ว ทาให้พ้ืนท่ี
รมิ น้าหมดความสาคัญลง เม่อื การพัฒนาเรมิ่ หนั หลงั ให้กบั แมน่ า้ พืน้ ทร่ี มิ น้าจึงกลายเปน็ อดีตของพ้ืนที่อุตสาหกรรม
ที่เคยคึกคัก เป็นพ้ืนท่ีเศรษฐกิจเมืองท่ีไม่มีการใช้งาน และเป็นพ้ืนท่ีเสื่อมโทรมของเมืองในท่ีสุด ในโลกตะวันตก
การพัฒนาและฟ้ืนฟูพื้นที่ริมน้าเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในช่วงทศวรรษ 1970 ต้ังแต่เมืองลอนดอนของอังกฤษ
เมอื งซิดนียใ์ นออสเตรเลยี และอีกหลายเมอื งในสหรฐั อเมริกา

93
พนื ท่ีรมิ น้าในศตวรรษที่ 20 องค์ประกอบทสี่ า้ คญั ของเมือง

พ้ืนที่ริมน้า (Waterfront) หรือพื้นที่เมืองริมน้า (Urban Waterfront) เป็นชื่อท่ีมีความหมายครอบคลุม
พนื้ ที่หลายแบบ เช่น ส่วนของพื้นท่ีเมืองท่ีอยู่ใกล้ชิดกับน้า ทะเลสาบ หรืออ่าว พ้ืนท่ีเมืองท่ีเช่ือมต่อโดยตรงกับน้า
พ้ืนท่ีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาเมืองกับน้า และยังมีช่ือเรียกภาษาอังกฤษอีกหลายชื่อ ได้แก่ Harbor Front,
City Port, Riverfront, Riverside เปน็ ต้น การรับรูค้ วามหมายของพืน้ ทีร่ มิ น้าของประชากรเมือง

นอกจากด้านประโยชน์ใช้สอยแล้ว ยังมีความสัมพันธ์ทางธรรมชาติและสังคมท่ียึดโยงกับธรรมชาติของ
มนุษย์ เพราะผืนน้าธรรมชาติที่มองเห็นจากพื้นที่ริมน้าเป็นสิ่งเดียวท่ีคงความเป็นธรรมชาตินอกเหนือจากสิ่ง
โดยรอบที่มนุษย์สรรค์สร้างขึ้น แม่น้าลาคลองจึงเป็นธรรมชาติที่เช่ือมโยงจิตใจ ความงดงามตามธรรมชาติ และ
สะท้อนความมีตัวตนของมนุษย์เมืองได้เป็นอย่างดี ภูมิทัศน์ท่ีมีน้าเป็นองค์ประกอบจึงเป็นสิ่งที่มนุษย์โหยหา มี
อิทธิพลตอ่ การกล่อมเกลาจิตใจ และทาให้รู้สกึ ผอ่ นคลาย

พืนท่ีริมนา้ กับศกั ยภาพทางเศรษฐกิจ
ชว่ งปลายทศวรรษ 1950 เมืองบัลติมอร์ มลรัฐแมร่ีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ได้วางแผนการฟื้นฟูดาวน์ทาวน์

โดยครอบคลุมพื้นท่ี 240 เอเคอร์โดยรอบ Inner Harbor ของเมืองด้วย แผนการฟื้นฟูได้ดาเนินการมาอย่าง
ต่อเน่ืองอีก 20 ปี ถือเป็นต้นแบบการพัฒนาพ้ืนที่ริมน้าที่มีบทบาทในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของเมืองท่ีซบเซา พื้นที่
Inner Harbor กลายเปน็ สญั ลกั ษณ์ของเมืองบัลติมอร์ และส่งผลกระทบเชิงบวกกับเศรษฐกิจเมือง เช่น มีการจ้าง
งานกว่า 21,000 ตาแหน่งในพ้นื ที่ สร้างรายไดก้ ว่า 2.3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี มีนักท่องเท่ียวเดินทางมาเพ่ือ
เย่ียมชมกว่า 14 ล้านคนต่อปี และจ่ายภาษีให้กับเมืองบัลติมอร์และมลรัฐแมรี่แลนด์กว่า 100 ล้านเหรียญ

94

สหรัฐฯ ทาให้รูปแบบการพัฒนาท่ีเกิดขึ้นกับเมืองบัลติมอร์กลายเป็นโมเดลท่ีถูกนาไปใช้กับหลายเมืองใน
สหรฐั อเมริกาและเป็นท่ียอมรับในระดับโลก กระแสการพัฒนาพ้ืนที่ริมน้ายังเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ
ท่ีซิดนีย์ ออสเตรเลีย มีการพัฒนา Darling Harbor ให้เป็นพ้ืนที่ศูนย์กลางการท่องเที่ยว ฮ่องกงและสิงคโปร์
มองเห็นศักยภาพของพื้นท่ีริมน้าที่นาไปสู่การถมทะเลเพื่อสร้างพ้ืนท่ีริมน้าและสร้างศูนย์กลางใหม่ของเมือง การ
พัฒนาพ้ืนท่ีริมน้าเพ่ือเป็นสถานที่และจุดหมายปลายทางของคนทุกกลุ่มยังเป็นสิ่งท่ีตอบโจทย์ทั้งกลุ่มผู้ลงทุนและ
ตอบสนองความต้องการของชุมชนและประชากรเมือง บทบาทของพื้นที่ริมน้าจึงมีความสาคัญในมิติท่ีกว้างกว่า
บรบิ ทของเมอื ง แตเ่ ป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ใหม่ของประเทศบนพ้ืนที่ประวัติศาสตร์เพ่ือการรับรู้และการแข่งขันใน
เวทีโลก นอกจากนั้น บทบาทของพื้นท่ีริมน้าท่ีมีต่อเมืองและวิถีชีวิตของประชากรเมืองมีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา การมีพื้นที่ริมน้าในเมืองนับเป็นสินทรัพย์ของเมืองที่รอการสร้างสรรค์มูลค่า การไม่มีแผนการพัฒนา
พืน้ ที่ริมน้าทเี่ ปน็ ระบบจะทาให้เมืองเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ สูญเสียความสมดุลทางสังคม และทาให้เมืองสูญเสีย
ศักยภาพในการแขง่ ขนั ในท่สี ุด บทบาทใหม่ของพื้นที่ริมน้าในทศวรรษหน้าคือการเป็นพื้นท่ีป้องกันอุทกภัยและภัย
พิบัติทางธรรมชาติ เนื่องจากเมืองที่ตั้งอยู่ริมน้าส่วนใหญ่จะมีสถานะเป็นเมืองชายฝ่ัง (Coastal Cities) จากการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมผี ลทาให้น้าทะเลขึ้นสงู และเกิดคลืน่ พายหุ มุนยกซัดฝั่งท่ีรุนแรง (Storm Surge) กว่า
ในอดีต แม่น้าลาคลองจึงต้องทาหน้าที่รับน้าและระบายน้าออกจากเมืองในปริมาณท่ีมากกว่าปกติอย่างหลีกเลี่ยง
ไมไ่ ด้ พนื้ ทร่ี มิ น้าและพน้ื ท่ศี นู ย์กลางทางเศรษฐกิจจึงกลายเปน็ พื้นทที่ ีม่ ีความเสี่ยงสูง การพัฒนาและออกแบบพื้นท่ี
ริมน้าเพื่ออนาคตจาเป็นต้องคานึงถึงความยืดหยุ่น (Resilient) และความสามารถในการปรับตัว (Adaptability)
ของพื้นท่ี การพัฒนาพ้ืนท่ีริมน้าในอนาคตจึงเป็นความท้าทายของการพัฒนาเมืองที่ต้องนาเสนอรูปแบบการใช้
พนื้ ทีท่ ่ีมีความสมดลุ ท้ังการเปน็ พ้ืนทที่ างเศรษฐกจิ พ้นื ทีเ่ พื่อการมีปฏิสัมพันธ์ของประชากรเมือง และพื้นท่ีเพ่ือการ
ป้องกันภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ

ดังน้ัน จะเห็นได้ว่ารัฐสาหรับประเทศที่พัฒนาแล้วเห็นว่าการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวริมน้าสามารถสร้าง
รายได้ในการพัฒนาประเทศ โดยระดับการแข่งขันระดับโลกอาจมีระดับที่สูงขึ้นเม่ือประทศหันมาเจรจาความ
ร่วมมือในกลุ่ม โดยการร่วมมือในระดับภูมิภาคอาจสามารถยกระดับการแข่งขันในระดับโลกได้ และสามารถ
พจิ ารณาถงึ การรว่ มทนุ เพอื่ พฒั นาการแขง่ ขันในตลาดการทอ่ งเท่ยี วทางน้าของโลก

95

1.5 ปัจจัยทางเศรษฐกจิ ในระดับภูมภิ าคลุ่มน้าโขง

ภมู ิภาคลุ่มน้าโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) ประกอบไปดว้ ยประเทศกัมพชู า จีน (มณฑลยูน
นานและมณฑลกวางสี ลาว เมียนมา ไทย และเวียดนาม ผลงานที่สาคัญของท่องเท่ียว คือ การลดระดับความ
ยากจน การพัฒนาท่ีย่ังยืนและครอบคลุมถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากนั้น ยังมีความร่วมมือด้านการ
ท่องเท่ียวในภูมิภาค และยังได้รับการสนับสนุนโครงการความร่วมมือต้ังแต่เร่ิมก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2535 (GMS
Economic Cooperation) เช่น จากธนาคารเพ่ือการพัฒนาเอเชีย (ADB) ในฐานะที่เป็นผู้นาในการพัฒนา GMS
ได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เช่น โครงการทุนและเงินกู้ รวมท้ังการ
ท่องเที่ยวของแม่น้าโขง อันได้แก่ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน และล่าสุดคือโครงสร้างพื้นฐานการ
ทอ่ งเท่ียวสาหรับโครงการขยายการเตบิ โตแบบภูมภิ าค โครงการเหลา่ น้ีได้ปล่อยกู้ถึงหมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐเพ่ือใช้
ในการลงทุนด้านผลิตภัณฑ์และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาขีดความสามารถ และการตลาดการ
ทอ่ งเทีย่ ว นอกจากนี้ ADB ยงั ให้การสนับสนนุ เชงิ สถาบันแก่ MTC ซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นเลขาธิการของ GMS Tourism
Working Group (TWG) โดยประสานงานการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาและการจัดการความรู้ รวมไปถึงการ
สนับสนุนประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงเพ่ือร่วมกันส่งเสริมแม่น้าโขงเป็นปลายทางการท่องเที่ยว เช่น การให้
ความชว่ ยเหลอื ด้านเทคนคิ ในการพัฒนายทุ ธศาสตรข์ อง ADB

96

1.6 แนวคดิ เชงิ ยทุ ธศาสตร์โดยภาพรวมส้าหรบั การพัฒนา

ถ้าพิจารณาในด้านนโยบายแล้ว จะเห็นได้ว่าการท่องเที่ยวในรูปแบบล่องเรือในแม่น้าและมหาสมุทร
จาเป็นต้องมีหลายประเทศเข้าถึง GMS เพื่อที่จะสร้างกาหนดการเดินทางทั่วท้ังภูมิภาค ซึ่งแนวทางกลยุทธ์ที่จะ
นามาสคู่ วามสาเรจ็ จาเป็นต้องพจิ ารณาจากหลกั การดงั ตอ่ ไปนี้

1. หลักการด้านนโยบาย กล่าวคือ จะต้องมีการกาหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการเข้าถึงระบบวีซ่าและการ
ประสานงานด้านคนเข้าเมืองให้มากขึ้น นอกจากนี้ การท่องเท่ียวล่องเรือในลุ่มแม่น้าโขงจะขึ้นอยู่กับนโยบายเพ่ือ
ปรับปรงุ โครงสร้างพ้นื ฐานและแนวทางในการตรวจสอบประโยชนข์ องการท่องเทีย่ วล่องเรือไปถงึ แหล่งชมุ ชนด้วย

2. ความรว่ มมือระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน กล่าวคือ ถ้าพิจารณาจาก GMS จะเห็นได้ว่า แม่น้าและ
มหาสมุทรเป็นส่วนสาคัญของชีวิตและอาจมองเป็นวิถีชีวิตของชุมชน และยังเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมใน
ภูมิภาคน้ี การท่องเที่ยวล่องเรือบนแม่น้าและมหาสมุทรเหล่าน้ีมีศักยภาพในการเช่ือมต่อการเดินทางไปใช้ชีวิตใน
ท้องถ่ินและการอัดฉีดเม็ดเม็ดเงินลงไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ด้วย ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุถึงศักยภาพตามหลักการ ประเทศ
ต่าง ๆ ใน GMS จะต้องทางานร่วมกันและร่วมมือกันกับภาคเอกชนตามความเหมาะสมเพ่ืออานวยความสะดวก
เช่น การข้ามพรมแดนเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวในวงกว้าง การสร้างความหลากหลายของ
เส้นทางการทอ่ งเท่ยี วล่องเรือในภูมิภาค และส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือ รวมทั้งวิธีการขนส่ง และประสบการณ์
ดา้ นวฒั นธรรมท่หี ลากหลายใน GMS

3. การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวทางน้า หรือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product
Development) โดยเฉพาะการท่องเท่ียวล่องเรือในแม่น้าและมหาสมุทรซ่ึงสะท้อนถึงประสบการณ์ต่าง ๆ ในการ
เดินทางในหลายประเทศในภูมิภาคนี้ และสามารถใช้เป็นเครอ่ื งมือในการสง่ เสริมและพัฒนา GMS ซ่ึงเป็นจุดหมาย
ปลายทางของการท่องเท่ียว นอกจากแม่น้าโขงแล้ว ยังมีแม่น้าสายใหญ่ ๆ อีกหลายสายท่ีสามารถพัฒนาและ
สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วล่องเรอื ได้ เชน่ แม่น้าอริ วดี แมน่ ้าเจา้ พระยา และแม่น้าแดง เป็นต้น สถานที่ท่องเท่ียวสาคัญ
ในภูมิภาคนี้ เช่น การไปเยือนสามเหล่ียมปากแม่น้าโขง (Mekong Delta) อ่าวฮาลอง และแม่น้าเจ้าพระยา เป็น
ต้น นอกจากน้ี การท่องเท่ียวล่องเรือข้ามหลายประเทศในภูมิภาคน้ียังถือเป็นประสบการณ์แปลกใหม่ท่ีน่า
ประทับใจ และยังเปน็ ตัวกระตนุ้ สาคัญสาหรับผลิตภณั ฑ์การทอ่ งเท่ียวของ GMS อกี ด้วย

4. การส่งเสริมและการวางจุดยืนผ่านการท่องเที่ยวเรือสาราญ ผู้ร่วมทุนยังสามารถสร้างตลาดการ
เดนิ ทาง เช่น จุดหมายปลายทาง ในขณะที่บริษัทเรือสาราญ และท่าเรือควรส่งเสริมแบรนด์ GMS “แม่โขง” ส่วน
ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ ะ ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ภู มิ ภ า ค โ ด ย ส ร้ า ง เ ส้ น ท า ง ที่ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ท รั พ ย า ก ร ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องภูมภิ าค

97

ตารางที่ 3.4 จ้านวนนกั ทอ่ งเท่ยี วท่ีเดนิ ทางมายังภูมิภาคแมโ่ ขง ตังแตป่ ี ค.ศ. 2010-2014

ท่ีมา: UNWTO หน้า 21 (อ้างจาก National Tourism Organizations. Mekong Tourism Coordinating
Office.)

ถ้าพจิ ารณาจากตารางที่ 3.4 จะเหน็ ถึงจานวนนกั ท่องเที่ยวทีเ่ ดนิ ทางเข้ามาใช้บริการในภูมิภาค GMS โดย
จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีอัตราของจานวนนักท่องเท่ียวท่ีสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ค.ศ. 2010-2014 มีอัตรา
เพ่ิมขน้ึ ถึงรอ้ ยละ 35.69 ซึง่ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ประเทศอ่ืนในภูมภิ าคในเรอ่ื งของจานวนนักท่องเท่ียว ถือว่ามีระดับ
การแข่งขันที่อยู่ในระดับที่สูงท่ีสุด อย่างไรก็ตาม จานวนนักท่องเท่ียวต่างประเทศที่เติบโตเร็วท่ีสุด คือเมียนมา
เนอื่ งจากผลของการปฏริ ปู ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ อยา่ งกวา้ งขวาง ซึง่ เริม่ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011)

98

ตารางท่ี 3.5 จ้านวนนักท่องเทีย่ วทเ่ี ดินทางมายงั ภูมิภาคแม่โขง ในปี ค.ศ. 2014 (คน)

ทีม่ า: UNWTO หนา้ 22 (อ้างจาก National Tourism Organizations.)
จากตารางท่ี 3.5 จะเห็นได้ว่า 44.4 ล้านคนในต่างประเทศเดินทางไปยัง GMS ในปี ค.ศ. 2014 ความ

ตอ้ งการเดนิ ทางมาจากแหลง่ ท่ีสาคญั เชน่ ตลาดในเอเชียที่นาโดยจีน (7.679 ล้านคน) มาเลเซีย (3.731 ล้านคน)
ไทย (3.311 ล้านคน) เกาหลีใต้ (3.155 ล้านคน) เวียดนาม (2.571 ล้านคน) ญ่ีปุ่น (2.428 ล้านคน) และรัสเซีย
(2.136 ล้านคน) โดยในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) นักท่องเที่ยวจีนมีสัดส่วนมากท่ีสุดเป็นอันดับ 1 ในประเทศ
เวยี ดนาม และไทย รองลงมาคือ นักทอ่ งเทยี่ วจนี มสี ดั ส่วนมากเป็นอนั ดับสองในประเทศกัมพูชา และเมียนมา และ
นกั ทอ่ งเที่ยวจนี มสี ดั ส่วนมากเป็นอันดับสามในประเทศลาว สาหรบั ประเทศไทยถอื เป็นตลาดต้นทางของลาว เมียน
มา และยูนนานของจีน สาหรับในประเทศกัมพูชา นักท่องเที่ยวจากเวียดนามถือเป็นส่วนแบ่งท่ีใหญ่ที่สุดของ
นกั ทอ่ งเที่ยวต่างชาติที่ไปทอ่ งเทีย่ วยังกมั พชู า และถา้ พจิ ารณาจากตลาดยุโรปจะพบว่า ประกอบด้วยประมาณร้อย
ละ 17 ของนักท่องเท่ียวระหว่างประเทศในปี ค.ศ. 2014 ซ่ึงลดลงจากร้อยละ 20 ในปี ค.ศ. 2004 ในขณะท่ี
นักท่องเท่ียวท่ีมาจากสหรัฐอเมริกาลดลงต่ากว่าร้อยละ 5 ในปี ค.ศ. 2014 จากระดับเกือบร้อยละ 8 ในทศวรรษ
กอ่ นหน้าน้ี

99
อย่างไรกต็ าม ภูมิภาค GMS ได้มีการพัฒนาการเข้าถึงทางอากาศและทางบกท่ีดีขึ้น เช่น ในช่วงหลายปีที่
ผ่านมา การสร้างทางหลวงข้ามชาติเชื่อมโยงเมืองท่ีใหญ่ที่สุดและมีสะพานข้ามแม่น้าโขงเชื่อมสถานท่ีเชิง
ยทุ ธศาสตร์ในภาคเหนือ-ใต,้ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก, และศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ นอกจากนั้น มีการสร้างท่าอากาศ
ยานนานาชาติ 32 แห่ง ในปี ค.ศ. 2014 โดยมีเที่ยวบินขาเข้าระหว่างประเทศจานวน 276,524 เท่ียว โดยมีท่ีนั่ง
รวมถึง 56.20 ล้านท่ีน่ัง นอกจากน้ัน ยังมีข้อตกลงซึ่งจะช่วยเพิ่มการลงทุน การบริการให้คาปรึกษาด้านการ
ท่องเท่ียวระหว่างประเทศ และการเดินทางโดยยานพาหนะส่วนบุคคลข้ามพรมแดน

กรอบระยะเวลาในการด้าเนินการเชิงกลยุทธ์ใหเ้ กิดความส้าเรจ็ โดยรฐั บาลเปน็ ผู้ดา้ เนนิ การ
ถ้าพิจารณาจากแผนปฏิบัติการ ปี ค.ศ. 2015-2020 จะเห็นได้ว่ายังเป็นแค่แผนปฏิบัติการท่ีเกิดข้ึนขาด

ความชัดเจน อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์ประกอบด้วยกิจกรรม 50 ประเภทซ่ึงจัดอยู่ในกลุ่ม 12 กลุ่มกิจกรรม
แผนปฏบิ ัติการทค่ี รอบคลมุ ต้งั แต่ปี ค.ศ. 2015-2020 กรอบระยะเวลายังเป็นแค่แผนซ่ึงยังประสบปัญหาต่าง ๆ ใน
การนาแผนไปปฏบิ ัตใิ ห้เกิดขึ้นไดจ้ รงิ เน่ืองจากขาดการประสานงานอย่างจรงิ จัง

100

ปัจจยั ความส้าเรจ็ เพอื่ พัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียว

กลยุทธ์ที่จะประสบความสาเร็จในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS ขึ้นอยู่กับความร่วมมือที่สะท้อนถึง
ประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค ระดับชาติ จังหวัดและเทศบาล และความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ
สาหรบั แนวทางการเปน็ หุ้นสว่ นควรรวมถงึ การเป็นตวั แทนจากองค์กรตอ่ ไปน้ี

(1) UNWTO กล่าวคือ เป็นผู้ริเริ่มและเป็นผู้นา เป็นองค์การระหว่างประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาการ
ทอ่ งเท่ยี วบนแม่น้าโขง UNWTO ควรสรา้ งความน่าเช่ือถือสาหรับแผนการท่ีจะพัฒนาต่อไป เช่น การท่องเท่ียวบน
แม่น้าโขง, การประสานงานกับ GMS และ NTOs (National tourism organizations) จาก 5 ประเทศ เพื่อ
ปฏิบัติตามแผนการ, การช่วย GMS และ NTOs ในการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ใน กลยุทธ์, การช่วย GMS และ
NTOs ในการระดมทุนจากภาคเอกชนและคู่ค้าด้านการพัฒนาเพ่ือตอบสนองความต้องการของโครงสร้างพื้นฐาน
และความตอ้ งการในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ รวมไปถงึ ผลติ และเผยแพร่ผลติ ภัณฑ์ความรู้ทางการทอ่ งเท่ยี ว

(2) ความสาคัญของสานักงานเลขาธิการอาเซียน กล่าวคือ คณะทางานด้านการท่องเที่ยวท่ีมีบทบาท
สาคัญอย่างยิ่ง ในการพัฒนาแนวคิดเรื่อง การท่องเที่ยวเรือสาราญและการท่องเท่ียวตามแม่น้า ซ่ึงมีความ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การทอ่ งเที่ยวอาเซยี นในแผนปี ค.ศ. 2016-2025 ซึ่งระบุเก่ียวกบั การท่องเท่ียวเรือสาราญ
ในแม่น้ากับการพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับภูมิภาคอาเซียน โดยสานักงานเลขาธิการอาเซียนมีหน้าท่ีดังนี้ (1) การ
สร้างคุณลักษณะของการพัฒนาการท่องเท่ียวตามแม่น้าเป็นหลัก (2) การวางแผนในอนาคตผ่านการประสานงาน
ระหว่าง GMS และ NTOs เพื่อทาหน้าท่ีเป็นแหล่งข้อมูล (3) การพัฒนาการท่องเที่ยวตามกลยุทธ์เพ่ือนาเสนอใน
การประชุมคณะทางานด้านการท่องเที่ยว (4) ช่วย GMS และ NTOs ในการจัดกิจกรรมตามที่กาหนดภายใต้กล
ยุทธ์ (5) ช่วย GMS และNTOs ในการระดมทุนจากภาคเอกชนและคู่ค้าด้านการพัฒนาเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของโครงสร้างพื้นฐาน และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ (6) ผลิต เผยแพร่ และ
ประชาสมั พันธ์การท่องเท่ียว รวมไปถึงผลติ ภัณฑ์ความรู้ด้านการท่องเทย่ี วต่าง ๆ

(3) สานักงานประสานงานการทอ่ งเที่ยวแม่โขง (The Mekong Tourism Coordinating Office; MTCO)
เป็นหน่วยงานระดับภูมิภาคท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานประสานงานเพื่อการดาเนินการการตลาดของแม่โขง
และยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการซ่ึงมุ่งเน้นด้านจุดหมายปลายทางตามแนวแม่น้าโขงเป็นจุดสาคัญ น่ันคือ
MTCO มีส่วนร่วมและรับรองแผนพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า โดย MTCO มีหน้าที่ดังนี้ (1) ช่วยรวมกิจกรรม
ล่องเรือแม่น้าและกิจกรรมการท่องเที่ยวตามแม่น้าในส่วนใหม่ตาม www.mekongtourism.org (2) สร้าง
อุตสาหกรรมและการรับรู้ของผู้บริโภคของแม่น้าตามการท่องเท่ียวบนแม่น้าโขง (3) รวมหัวข้อการท่องเท่ียวตาม
แม่น้าโขงในเวทีการท่องเท่ียวลุ่มน้าโขงและนาเสนอกลยุทธ์น้ีในการประชุมกลุ่มงานด้านการท่องเท่ียว (4) ช่วย

101

GMS และ NTOs ในการจัดระเบียบและทาความคุ้นเคยกับทัวร์ในจุดหมายปลายทางของแม่น้าโขง และ (5) ช่วย
GMS NTOs ระดมทุนจากภาคเอกชนและค่คู า้ ในดา้ นการพัฒนา

(4) องค์การการท่องเที่ยวแห่งชาติของ GMS ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบด้านการ
ท่องเท่ียวในแต่ละประเทศ GMS และ NTOs จะมีบทบาทสาคัญอย่างหนึ่งคือ การอานวยความสะดวกในการ
ดาเนนิ การของการทอ่ งเที่ยวตามแผนพัฒนาแห่งชาติในระดับชาติ จังหวัดและเทศบาล เช่น (1) GMS และ NTOs
สื่อสารความตอ้ งการเชงิ ยทุ ธศาสตร์การทอ่ งเที่ยวใหแ้ ก่หน่วยงานรฐั บาลและสมาคมอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว (2)
อานวยความสะดวกในการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน (3) วางแผนทรัพยากรทางการเงินและ
บุคลากรเพื่อใช้กลยุทธ์ และ (4) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับเทศบาลเก่ียวกับ
หวั ข้อของแม่น้าที่ใชใ้ นการพัฒนาการท่องเท่ยี ว

(5) ผ้ปู ระกอบการภาคเอกชนและนกั ลงทุนมคี วามสาคัญสาหรบั ความสาเร็จของกลยุทธ์การท่องเท่ียวทาง
น้า ในปัจจุบันมีผู้ประกอบการการท่องเท่ียวจานวนมาก, บริษัทเรือ, ผู้ให้บริการด้านที่พักอาศัย ซึ่งผู้ประกอบการ
ภาคเอกชนและนกั ลงทุนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามแม่น้าโขง นอกจากน้ี ยังมีโอกาสในการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ จากภาคเอกชน เช่น (1) การส่งเสริมการท่องเท่ียวผ่านแม่น้าโขง ช่องทางการตลาดและส่งเสริมการ
ขาย (2) ร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียวใหม่ ๆ ในลุ่มแม่น้าโขง (3) วางแผนทรัพยากรทางการเงิน
และบคุ ลากรเพอื่ ใชเ้ ป็นกลยทุ ธ์ และ (4) แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเป็นมืออาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน
การบรหิ ารจัดการโดยเฉพาะอย่างยง่ิ การดาเนนิ งานและการบารงุ รักษา

(6) คณะกรรมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River Commission) เป็นสถาบันรับผิดชอบในการส่งเสริมให้
เกิดความย่ังยืนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนของแม่น้าโขง โดยการท่องเท่ียวถูกระบุว่าเป็น
จุดสาคัญของการพัฒนา โดย MRC จะ (1) สนับสนุนและร่วมมือในการพัฒนา Mekong Ports and Tourism
Atlas (2) จดั สรรทรพั ยากรทางการเงนิ และบุคลากรเพื่อตอบสนองกลยุทธ์ (3) การพัฒนาการท่องเที่ยวตามแม่น้า
ตามการวางแผนในระยะยาว (4) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าซึ่งจัดโดย UNWTO, อาเซียน,
MTCO หรือ NTOs และ (5) รวมแหล่งข้อมูลการท่องเที่ยวแม่น้าเพื่อเป็นรูปแบบการพัฒนาและรวมถึงการจัด
ประชุมตา่ ง ๆ

(7) การพัฒนาแบบคู่ค้าจะให้ข้อมูลทางเทคนิค และความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อสนับสนุนผลิตภัณฑ์
หลายประเทศ การพัฒนา การเสริมสร้างศักยภาพและการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติท่ีดี คู่ค้าด้านการ
พัฒนาจะ (1) ระดมทุนและความช่วยเหลือด้านเทคนิคเพ่ือให้เกิดการดาเนินกลยุทธ์ (2) พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใน
โครงการในอนาคต (3) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าที่จัดโดย UNWTO, อาเซียน, MTCO หรือ
NTOs และ (4) รว่ มประชมุ ท่ีจัดโดยชมุ ชน โดยเฉพาะการประชมุ เพ่อื การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางน้า

102

หลกั เกณฑใ์ นการเลอื กภายใตก้ ารวิเคราะห์ยุทธศาสตรแ์ ละค่าดัชนีการแข่งขัน

ถ้าพิจารณาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560-2564) จากกรณีศึกษาโครงการแม่
โขงของภูมิภาค จะเห็นได้ว่ามีเป้าหมายท่ีสาคัญท่ีสอดคล้องกับแผนหลักของโครงการการท่องเท่ียวของไทย
โดยเฉพาะประเทศไทยต้องเป็นแหล่งท่องเท่ียวคุณภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่
ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน โดยแผนกลยุทธ์ดังกล่าวสามารถนามาเป็นเหตุและผลของหลักเกณฑ์ในการ
เลือกโครงการแม่โขงเป็นแนวทางในการพัฒนาเชิงบูรณการให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก
ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนการท่องเที่ยวไทยมีความสอดคล้องกับดั ชนีการแข่งขันด้านการเดินทางและภาคการ
ท่องเท่ยี วในโครงการแมโ่ ขง โดยสามารถนามาสรปุ ความสอดคลอ้ งได้ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาคณุ ภาพแหล่งท่องเท่ียวสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความสมดุล
และยั่งยืน (ปัจจัยท่ี 1 สภาพแวดล้อมที่เปิดใช้งานซ่ึงจะรวบรวมการตั้งค่าทั่วไปที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงานใน
ประเทศ และมี 4 หมวดสาคัญท่ีสะท้อนถึงกลยุทธ์ในโครงการแม่น้าโขง ได้แก่ (1) สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (2)
ความปลอดภัย (3) สขุ ภาพและสุขอนามยั และ (4) ทรัพยากรบคุ คลและตลาดแรงงาน)

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อรองรับการขยายตัวของการ
ท่องเท่ียว (ปัจจัยท่ี 3 และมี 2 หมวดสาคัญที่สะท้อนถึงกลยุทธ์โครงการแม่น้าโขง ได้แก่ (1) โครงสร้างพ้ืนฐาน
บรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว และ (2) โครงสร้างพ้นื ฐานด้านการขนสง่ ทางบกและทางน้า)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
พฒั นาการทอ่ งเท่ียว (ไมไ่ ด้ระบุในดชั นีการแขง่ ขัน แต่ได้ระบไุ ว้ในกลยทุ ธข์ องหน่วยงาน)

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเท่ียวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถี
ไทย และการสร้างความเช่อื ม่ันของนักท่องเท่ียว (ปัจจัยที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรมโดย
มี 2 หมวดที่สาคญั ไดแ้ ก่ (1) ทรพั ยากรธรรมชาติ และ (2) ทรัพยากรทางวฒั นธรรมและการเดินทางเพอ่ื ธรุ กิจ)

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การบูรณการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ (ปจั จยั ท่ี 2 นโยบาย T & T และเงื่อนไขเชิงนโยบายหรือยุทธศาสตร์ซ่ึงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม T &
T โดยตรง และมี 2 หมวดท่ีสาคัญ ได้แก่ (1) การให้ความสาคัญกับการเดินทางและการท่องเที่ยว (2) ความยั่งยืน
ด้านสิง่ แวดล้อม)

ดงั นั้น จากตารางที่ 3.6 ถ้าดัชนีการแข่งขันของโครงการแม่น้าโขงมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ไทยใน
ระดบั หนงึ่ แต่ยังขาดการบูรณการภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564) อย่างไรก็
ตาม ภาครัฐในกลุ่มแม่น้าโขงมีความแตกต่างกันมากในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ และยังมีค่าดัชนีการแข่งขั น

103
ทางการท่องเที่ยวและการเดินทางท่ีต่าโดยเฉพาะภาพรวมของค่าดัชนีในกลุ่มท้ังหมด (ขาดข้อมูลของเมียนมาดัง
ตารางข้างล่าง นอกจากน้ัน ระดับการมีส่วนร่วมเชิงนโยบายร่วมกันในระดับภูมิภาคได้ระบุในแผนยุทธศาสตร์แต่
แนวทางของการดาเนินงานอย่างเป็นรปู ธรรมยงั ความชัดเจน
ตารางท่ี 3.6 คา่ ดชั นกี ารแข่งขนั การเดินทางและการท่องเทีย่ วในกล่มุ แม่น้าโขง (ยกเว้นเมียนมา)

ท่มี า: World Economic Forum (2017), หนา้ 23
ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียวทางน้าจาเป็นต้องมีการระบุแนวทางและยุทธศาสตร์ท่ี

สอดคล้องกับแผนในระดับภูมิภาคให้มากข้ึนและลดระดับการซ้าซ้อนของงานในแต่ละหน่วยงาน โดยต้องตอบ
โจทยท์ ีส่ าคัญ คอื ต้องมีเส้นทางของแหล่งท่องเที่ยวทางน้าร่วมกัน ทั้งในด้านการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานท่ีเป็นจุด
เช่อื มโยงแหล่งท่องเที่ยว และรวมถึงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้าร่วมกัน นอกจากนั้น กลยุทธ์จะต้องสะท้อน
จากแผนแม่บทในระดับภูมิภาคที่จะต้องมุ่งเน้นผลลัพธ์ และความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อสร้างแนวทางเชิง
ประสิทธิภาพร่วมกันให้มากขึ้น เช่น นโยบายการให้คาปรึกษา การจัดการเงินทุนตามปัจจัยทางเศรษฐกิจ และ
ระยะทางของเสน้ ทางท่นี ามาซง่ึ รายได้ของภาครฐั และภาคเอกชน การจัดตั้ง National Contact Point (NCP) for
the Implementation โดยกุญแจสู่ความสาเร็จคือความมุ่งม่ันของหน่วยงานและการดาเนินนโยบายให้เกิดความ
เป็นธรรม พร้อม ๆ กับการคานึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย นอกจากนั้น ยังพบอุปสรรคในด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศและสภาพมลพิษ และมาตรฐานความปลอดภัยและการบงั คับใช้ทีล่ ้มเหลวอีกด้วย

104

ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทย
การท่องเที่ยวริมฝ่ังแม่น้าและทะเลในประเทศไทยมีความสาคัญอย่างมากสาหรับการท่องเที่ยวทางน้าใน

ประเทศไทย โดยเฉพาะปัจจัยทางเศรษฐกิจ ที่ข้ึนอยู่กับด้านอุปทานและด้านอุปสงค์ ในด้านอุปทานจะข้ึนอยู่กับ
จานวนท่าเรือ จานวนเรือ จานวนแหล่งทางเที่ยวในจังหวัด ส่วนในด้านอุปสงค์จะขึ้นอยู่กับจานวนผู้โดยสารทั้ง
ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ภาครัฐจะตอ้ งพจิ ารณาความสอดคล้องระหว่างด้านอุปทานและอุปสงค์ จาก
ตารางท่ี 3.7 จะเหน็ ไดว้ ่าจานวนผูโ้ ดยสารท่องเทย่ี วรมิ ทะเลมีอตั ราท่ีสูงกว่า 1 เท่าเม่ือเทียบกับผู้โดยสารท่องเที่ยว
ริมแม่น้า แต่จานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้ามีอัตราที่สูงกว่าจานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเล ซ่ึงแสดงถึงนักท่องเที่ยวที่
สนใจการท่องเที่ยวริมฝ่ังแม่น้าของไทย และยังมีโอกาสในการขยายการท่องเที่ยวบริเวณแม่น้าเพื่อสร้างรายได้
อย่างต่อเน่อื ง
ตารางท่ี 3.7 ขอ้ สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เรือโดยสารและทอ่ งเท่ียว

ทม่ี า: รายงานประจาปงี บประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิตทิ เ่ี ก่ียวขอ้ งกับการขนสง่ สินคา้ และผู้โดยสารทางนา้ )
นอกจากนั้น จากตารางที่ 3.7 แสดงถึง เรือโดยสาร/ท่องเที่ยวดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2549 จังหวัดท่ีมี

ท่าเรือโดยสาร/ท่องเท่ียวท่ัวประเทศ มีจานวน 46 จังหวัด เป็นจังหวัดท่ีมีท่าเรือต้ังอยู่บริเวณแม่นา 28 จังหวัด
(รอ้ ยละ 60.87) และท่าเรอื ท่ตี ั้งอยูบ่ ริเวณชายฝ่ังทะเล 18 จงั หวัด (รอ้ ยละ 39.13) เรือโดยสารท่ใี ห้บริการแบ่งเป็น
3 ขนาด ได้แก่ เรือขนาดเล็กคือเรือหางยาว เรือสปีดโบ๊ท บรรทุกนักท่องเที่ยวไม่เกิน 50 คน/เที่ยว เรือขนาดใหญ่
คือ เรือที่บรรทุกนักท่องเที่ยวได้ตั้งแต่ 51 คน/เท่ียวข้ึนไป และแพขนานยนต์ คือ เรือบรรทุกคนโดยสาร รถยนต์
หรอื สิ่งของขา้ มฟาก เมอื่ พิจารณาจานวนผู้โดยสารใช้บริการเรือโดยสาร/ท่องเท่ียว แยกเป็นบริเวณทะเลมากที่สุด
คือ จังหวัดภูเก็ตจานวน 6,204,266 คน ร้อยละ 21.47 ซึ่งผู้โดยสาร ในกลุ่มดังกล่าวใช้เส้นทางท่าเรือรัษฎา ร้อย
ละ 29.04 ของผู้ใช้บริการเรือท่องเท่ียว/โดยสารทั้งหมดของจังหวัดภูเก็ต ส่วนบริเวณแม่นาใช้บริการท่ีจังหวัด
กรุงเทพมหานครมากที่สุด ร้อยละ32.11 ซ่ึงผู้โดยสารในกลุ่มดังกล่าวใช้เส้นทางที่ท่าเรือสาทร จานวน 1,091,280
คน รอ้ ยละ 27.41 ของผู้ใชบ้ รกิ ารเรือทอ่ งเที่ยว/โดยสารทั้งหมดของกรงุ เทพมหานคร

105
ภาพที่ 3.4 แนวโน้มการเพิม่ ขนึ และลดลงของจ้านวนเท่ียวเรอื และจ้านวนผู้โดยสารบริเวณทะเล ตังแตป่ ี พ.ศ.
2549-2558

ท่มี า: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ข้อมูลสถิตทิ เี่ ก่ียวขอ้ งกบั การขนสง่ สินคา้ และผ้โู ดยสารทางนา้ )
ภาพท่ี 3.4 แสดงถึงแนวโน้มการเพ่ิมข้ึนและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเลและผู้โดยสาร

ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 โดยแนวโน้มมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2556-2558 (จาก
จานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเล จานวน 460,019-666,977และผู้โดยสาร จานวน 20,311,754- 28,893,417)

106

เน่ืองจากภาคการเที่ยวได้มีการขยับตัวจากปัจจัยทางเศรษฐกิจท่ีดีข้ึนท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ และ
รวมถึงการทาการตลาด และราคาที่สะทอ้ นถงึ การแขง่ ขนั ในระดับท่ีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ถ้าพิจารณา
จากแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้าของไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 จะเห็นได้
วา่ แนวโน้มของจานวนเท่ียวเรอื มีระดับท่ีเพิม่ ข้นึ เช่นกัน

107
ภาพที่ 3.5 แนวโนม้ การเพมิ่ ขนึ และลดลงของจ้านวนผู้โดยสารและจ้านวนเรอื บรเิ วณแมน่ า้ ของไทย ตังแตป่ ี
พ.ศ. 2549-2558

ที่มา: รายงานประจาปงี บประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิติท่ีเกี่ยวข้องกบั การขนส่งสนิ ค้าและผู้โดยสารทางน้า)
ภาพท่ี 3.5 แสดงถึงแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้าและผู้โดยสาร ต้ังแต่ปี

พ.ศ. 2549-2558 โดยแนวโนม้ มีการเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2556-2558 (จากจานวนเท่ียว
เรือบริเวณทะเล จานวน 982,954-1,067,646 และผู้โดยสาร จานวน 12,258,786-12,396,078) เนื่องจากภาค
การเท่ยี วได้มกี ารขยับตัวจากปัจจัยทางเศรษฐกิจท่ีดีขึ้นท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ และรวมถึงการทา

108

การตลาด และราคาที่สะท้อนถึงการแข่งขันในระดับท่ีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเติบโตของการท่องเที่ยว
บริเวณแมย่ ้ายังมีระดบั ที่ต่ากวา่ การท่องเทยี่ วทางทะเล

นอกจากนนั้ จากตารางท่ี 3.8 ถ้าพิจารณาจากข้อมูลสถิติของการท่องเที่ยวเลียบฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา กลุ่ม
สถิติวิเคราะห์ สานักแผนงาน กรมเจ้าท่า ทาการสารวจในช่วงเปิดภาคเรียนระหว่างวันเสาร์ที่ 23 – วันศุกร์ที่ 29
มกราคม 2559 และช่วงปิดภาคเรียนวันเสาร์ท่ี 19 – วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ท่าเทียบเรือที่จอดรับ – ส่ง
ผู้โดยสาร ปี 2559 มีจานวนท่าเรือท่ีใช้งานทั้งหมด 40 ท่า สรุปจานวนผู้โดยสารและจานวนเท่ียวเรือประจาปี
2559 ไดด้ ังน้ี โดยแนวโน้มทีจ่ านวนผู้โดยสารมรี ะดับท่ีสงู ถึง 13,632,247 คน
ตารางที่ 3.8 จ้านวนผโู้ ดยสารและจ้านวนเทีย่ วเรอื ปี พ.ศ. 5559

ทีม่ า: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิตทิ เี่ ก่ียวข้องกบั การขนส่งสินค้าและผู้โดยสารทางนา้ )
เรอื คลองแสนแสบในประทศไทย

กลมุ่ สถติ ิวิเคราะหส์ านักแผนงาน กรมเจ้าท่าได้ศึกษาจานวนผู้โดยสารที่ ขึ้น -ลง ตามท่าเทียบในช่วงเวลา
ที่เรอื ให้บรกิ ารเท่ียวแรก ถึงเท่ียวสุดท้าย ซ่ึงในปี 2559 ได้ทาการ สารวจ 2 ครั้งๆ ละ 7 วัน คร้ังแรก ช่วงเปิดภาค
เรียน ระหว่างวนั ท่ี 13 – 19 มกราคม 2559 และครง้ั ท่ี 2 ช่วงปิดภาคเรียน ระหว่างวันท่ี 23 – 29 เมษายน 2559
ตลอดเส้นทางทง้ั หมดจานวน 28 ทา่ ท่าเรือขาล่อง และเรอื ขาขึ้น เพอื่ ทราบจานวนผโู้ ดยสารในแต่ละช่วงเวลาตาม
ท่าเทียบเรือต่างๆ ในวันราชการและวันหยุดราชการ ตลอดจนรายละเอียดของเรือ ท่าเทียบเรือโดยสาร และรถ
โดยสารประจาทางที่ผ่านท่าเทียบเรือ เพื่อ เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย วางแผน และ
แก้ไขปญั หาในการขนส่งทางนา้ ให้สอดคล้องกับการขนส่งทางอ่ืนๆ และเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาสร้าง
ทา่ เทียบเรอื ให้ไดม้ าตรฐาน มีความปลอดภยั ใหก้ บั ประชาชนผ้ใู ช้บรกิ าร

สรปุ ในภาพรวมประจาปี 2559 จานวนเทย่ี วเรอื และจานวนผูโ้ ดยสารเฉลี่ยต่อวันในช่วงเปิดภาคเรียน จะ
มีจานวนมากกว่าช่วงปิดภาคเรยี นทั้งเรอื ขาล่อง และเรือขาขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 พบว่าจานวนเที่ยวเรือ
ในวันราชการ และวันหยุดราชการท้งั เรอื ขาลอ่ ง และเรือขาข้ึนมีจานวนลดลง แต่จานวนผู้โดยสารมีจานวนเพ่ิมข้ึน

109
ทั้งในวันราชการและวันหยุดราชการ และท้ัง เรือขาล่อง และเรือขาขึ้นโดยรายละเอียดแสดงได้ดังตารางท่ี 3.9
โดยแนวโนม้ มีระดบั ตา่ งที่เป็นบวก
ตารางท่ี 3.9 เปรยี บเทียบจ้านวนเทีย่ วเรือ และจา้ นวนผโู้ ดยสารท่ใี ช้บริการเรอื คลองแสนแสบเฉลย่ี ตอ่ วนั ช่วง
เปดิ และปดิ ภาคเรยี น จ้าแนกตามประเภทวนั และทศิ ทางการเดนิ เรือ ปี พ.ศ. 2559

ท่ีมา: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ขอ้ มลู สถติ ิท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การขนส่งสินค้าและผโู้ ดยสารทางน้า)
ถ้าพิจารณาจากโครงการภาครัฐในการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงริมฝ่ังแม่น้าน้ันมีจุดประสงค์เพื่ออานวย

ความสะดวกให้กบั ประชาชนท่วั ไป สามารถเข้าถึงแม่นา้ และเป็นทางเลือกในการสัญจรเส้นทางการเชื่อมต่อทางบก
และทางน้าด้วย ระบบทางเดินเท้า ทางจักรยาน และเรือท่ีมีความสะดวกและปลอดภัย การฟ้ืนฟูสิ่งแวดล้อมและ
ทัศนยี ภาพ บริเวณพ้ืนที่ริมฝั่ง โดยการพัฒนาและ ปรับปรุงภูมิทัศน์เขื่อน การเพ่ิมพื้นท่ีป่าชายน้า เพื่อสร้างสมดุล
และรักษาระบบนเิ วศมากข้ึน รวมไปถึงการเพ่ิม ระบบบ้าบัดน้าเสีย ประชาชนได้มีพื้นท่ีสาธารณะ ท่ีรองรับการใช้
ประโยชน์ทางด้านนันทนาการและกิจกรรมท้ังใน ระดับชุมชน ระดับย่าน และระดับเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อเช่ือมโยงให้
ประชาชนทั่วไปได้เข้าถึงริมแม่น้าเป็นการสร้างความตระหนักของประชาชนทั่วไปถึงความมีเอกลักษณ์ของวิถีชีวิต
ริมแม่น้าและการ ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมและคงความสวยงามของแม่น้า ประชาชนในบริเวณพื้นที่โครงการ จะ
ไดร้ ับการพัฒนาและฟืน้ ฟใู ห้เกิดการเป็นย่านที่มีการเข้าถึงได้สะดวกข้ึน ส่งผลต่อเศรษฐกิจในชุมชน รวมไปถึงการ
พัฒนาโครงการต่างๆ ในเกี่ยวข้องในด้านชุมชน ได้แก่ การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ สวนสาธารณะ พื้นท่ี
นันทนาการ รวมไปถึงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกท่ีดีข้ึน และรวมถึงการบูรณะ ฟ้ืนฟู และ
พัฒนา ชุมชน แหล่งประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โบราณคดี และ ศาสนสถาน โดยรอบพื้นท่ีริมฝั่งแม่น้า ซึ่งนามาสู่
การเพม่ิ รายได้ของภาครัฐในระยะยาว โดยภาครัฐสามารถพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวแมน่ า้ ได้ดังนี้

110

 พัฒนาเส้นทางเดนิ เรือทอ่ งเที่ยวทางแม่นา้ และเชื่อมต่อเสน้ ทางกับเส้นทางทีม่ ีอยูเ่ พื่อใหก้ ารท่องเท่ยี ว
ทางแมน่ ้ามคี วามครอบคลุมและสะดวกสบาย

 ออกแบบเส้นทางสา้ หรบั การท่องเที่ยวแมน่ ้าโดยระบุจดุ แวะพกั ตามเส้นทางท่องเท่ียวหลกั เชน่ แม่นา้
เจ้าพระยาในภาคกลาง จดั การแสดงรมิ แมน่ า้ และวิถีชีวิตชาวบ้านริมแมน่ า้ อาทิ แม่น้าโขงในภาค
อสี านตอนเหนือ และภาคเหนือ โดยรว่ มมือกับประเทศลาวและประเทศเมียนมา

 พัฒนาคณุ ภาพของบรกิ ารเดินเรอื และโครงสรา้ งทอ่ี า้ นวยความสะดวก เช่น เพิ่มชนิดเรือใหม้ คี วาม
หลากหลาย รวมถึงเรอื ขา้ มคนื ขนาดใหญ่ เพ่ือสนับสนุนการล่องเรือข้ามคืน

 พฒั นา และปรับปรงุ จดุ แวะพักตามเสน้ ทางการท่องเท่ียวแมน่ ้า โดยเน้นใหช้ ุมชนท้องถ่นิ เป็นส่วน
สา้ คญั ของเสน้ ทางท่องเที่ยวทางน้า

 พิจารณาสร้างแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ตามเส้นทางท่องเที่ยวแม่น้า โดยเฉพาะเส้นทางในกรุงเทพฯ
และใกล้กรุงเทพฯ

2. ผลการศึกษาและประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ทงั ปัจจัย
ทางเศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม ทงั ภายในประเทศ ระดับภมู ิภาคและระดบั โลก ทคี่ าดว่าจะ
กระทบต่อการทอ่ งเท่ยี วของไทยทางนา้ ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564: กรณปี จั จัยทางสงั คม

ปัจจัยทางสังคมในบริบทของการท่องเท่ียวของงานวิจัยชิ้นนี้ จะเน้นปัจจัยทางชุมชนเป็นหลัก เน่ืองจาก
กรณีศึกษาต่าง ๆ เช่น โครงการแมโ่ ขงในภูมิภาค โครงการแม่น้าดานูบของสหภาพยุโรป โครงการเกาะในประเทศ
แคนาดา และโครงการท่องเท่ียวเรือสาราญของประเทศออสเตรเลีย เป็นต้น ปัจจัยทางชุมชนเป็นปัจจัยหน่ึงที่
ส่งผลประสบความสาเร็จในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า หรืออีกนัยหน่ึงก็คือ ชุมชนมีความสาคัญอย่างมาก
กับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้า ด้วยเหตุน้ี การสร้างความเข้าใจแนวคิดและความหมายของชุมชนจึงมี
ความสาคัญ เพื่อนามาวิเคราะห์ผลกระทบท่ีส่งผลต่อภายในประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก ผลกระทบท่ี
เกิดข้ึนดังกล่าวสามารถนาไปอธิบายได้ถึงปัจจัยด้านชุมชนว่ามีผลต่อการการท่องเที่ยวทางน้าอย่างไร ซ่ึงการทา
ความเข้าใจถงึ ความหมายของชุมชนจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยท่ัวไปแล้ว “ชุมชน หมายถึงถ่ินฐานที่อยู่ของ
กลุ่มคน ถ่ินฐานนี้มีพื้นท่ีที่อ้างอิงได้ และกลุ่มคนนี้มีการอยู่อาศัยร่วมกัน มีการทากิจกรรม เรียนรู้ ติดต่อส่ือสาร
รว่ มมอื และพึ่งพาอาศัยกนั มีวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาประจาถ่ิน มจี ิตวิญญาณ และความผูกพันอยู่กับพ้ืนท่ีแห่งน้ัน
อยูภ่ ายใตก้ ารปกครองเดียวกัน” ซงึ่ สามารถแบง่ ออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่

1) ชุมชนชนบท หมายถึง ถิ่นฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรจานวนน้อย ความหนาแน่นของประชากรต่อ
พื้นท่ีตา่ ประชากรมคี วามคลา้ ยคลึงกนั ในดา้ นลักษณะ อาชพี และประกอบอาชพี เกษตรกรรมเป็นหลัก มีวิธีการคิด

111

แบบธรรมเนียมนิยม (traditionalism) มีรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นแบบกันเอง (ปฐมภูมิ) สภาพทาง
ธรรมชาติของถิ่นฐานน้มี กี ารปรบั เปลีย่ นเพยี งสว่ นน้อย สภาพโดยท่วั ไปมกี ารเปลย่ี นแปลงคอ่ นขา้ งชา้ กว่าเขตเมอื ง

2) ชมุ ชนเมืองเล็ก หมายถงึ ถนิ่ ฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรที่มีลักษณะอยู่ระหว่างชนบท และเมืองใหญ่
ซึ่งหมายถึง ถ่ินฐานที่อยู่อาศัยของประชากรจานวนปานกลาง ความหนาแน่นของประชากรต่อพ้ืนท่ีปานกลาง
ประชากรมีความผสมผสานในด้านลักษณะ อาชีพ ประกอบท้ังอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ และ
บรหิ ารจดั การ มวี ิธกี ารคิดท้งั แบบธรรมเนยี มนยิ ม (traditionalism) และแบบตรรกนิยม (rationalism) ผสมผสาน
กัน มรี ูปแบบความสัมพันธท์ างสงั คมเปน็ ทง้ั แบบกันเอง (ปฐมภมู )ิ และแบบทางการ (ทุติยภูมิ) สภาพทางธรรมชาติ
ของถิ่นฐานน้ีถูกปรับเปลี่ยนแล้วเป็นส่วนมาก สภาพโดยทั่วไปมีการเปล่ียนแปลงค่อนข้างเร็วกว่าเขตชนบทแต่ยัง
ชา้ กว่าเขตเมอื งใหญ่ หรอื อีกนัยหนึ่งกค็ ือ ชุมชนชนบททเี่ พ่ิงเริ่มกลายเปน็ เมอื ง

3) ชุมชนเมืองใหญ่ หมายถึง ถ่ินฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรจานวนมาก ความหนาแน่นของประชากร
ต่อพ้ืนที่สูง ประชากรมีความหลากหลายในด้านลักษณะ อาชีพ และประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรรม บริการ
และบริหารจัดการเป็นหลัก มีวิธีการคิดแบบตรรกนิยม (rationalism) มีรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นแบบ
ทางการ (ทุติยภูมิ) สภาพทางธรรมชาติของถิ่นฐานน้ีถูกปรับเปลี่ยนแล้วเป็นส่วนมาก สภาพโดยท่ัวไปมีการ
เปลีย่ นแปลงคอ่ นข้างเร็วกว่าเขตชนบท

4) ส่ิงแวดลอ้ มชุมชน หมายถึง สรรพสิ่ง และสภาพต่าง ๆ ทงั้ ทีม่ ชี ีวติ และไม่มชี ีวิต จับต้องได้ และจับต้อง
ไมไ่ ด้ ทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การอยดู่ ีมสี ุขของประชาชนในชมุ ชน ซ่งึ สามารถแยกพจิ ารณาได้เปน็ 4 มติ ดิ งั น้ี

4.1) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมกายภาพ เช่น แหลง่ น้าธรรมชาติ ป่า ดิน อากาศ แหล่ง
พลังงาน มลพษิ ภาวะนา้ ท่วม เป็นตน้

4.2) ด้านเศรษฐกิจ หมายรวมถึง การจัดสรรทรัพยากร การทามาหากิน การประกอบอาชีพของ
ประชาชน การมีงานทา การมีรายได้ การกระจายรายได้ ภาวะหน้ีสิน และรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นต้น

4.3) ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมายรวมถงึ ทีอ่ ยอู่ าศัย บริการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการขั้น
พ้ืนฐาน การศึกษา การสาธารณสุขชุมชน สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การติดต่อสื่อสาร
การคมนาคมท้ังภายในและภายนอกชุมชน วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นมรดกแก่ลูกหลาน และ
ความรสู้ ึกเปน็ ชมุ ชนร่วมกนั เป็นตน้

112

4.4) ด้านการบริหารจัดการสาธารณะและการมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการมีความ
โปร่งใส (transparency) มีประสิทธิภาพ (efficiency) มีความรับผิดรับชอบ (accountability) คานึงถึงอนาคต
และการมสี ่วนร่วมของประชาชน เปน็ ต้น

ดังน้นั จากประเด็นและความหมายของชมุ ชนทีไ่ ด้กลา่ วมาจึงมีความสาคัญตอ่ การพัฒนาการท่องเที่ยวทาง
น้าอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะเมื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางน้าในชุมชน โดยต้องพิจารณาในประเด็นของการ
เป็นแหล่งสร้างรายได้ให้กับภาคเอกชนและภาครัฐ รวมถึงชุมชนในพื้นที่ ซ่ึงส่ิงที่เกิดขึ้นก็คือ ผลประโยชน์ท่ีชุมชน
จะได้รับจากแนวคิดการพัฒนาแหล่งน้าเชิงพ้ืนท่ี และย่อมมีผลต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะแนวคดิ การมีส่วนร่วม ซ่ึงได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการพัฒนาชุมชนภายใต้การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ทางน้าที่อิงกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หากศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 จะพบว่า แผนพัฒนาฯ ฉบับดังกล่าวมุ่งเน้นคนเป็นสาคัญพร้อมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ
โดยพยายามเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนาจากระดับบนลงล่าง (Top-down) มาเป็นจากระดับล่างขึ้นบน
(Bottom-up) ซง่ึ แนวทางการพัฒนาจากระดบั ลา่ งข้นึ บนน้ี เก่ียวกบั แนวคดิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน ซ่ึงเป็นส่ิง
ที่ขาดหาย (Missing ingredient) ในกระบวนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าที่ผ่านมา โดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนน้ัน มีนักวิชาการได้อธิบายและให้ความหมายปัจจัย ข้ันตอนการมีส่วนร่วมของชุมชน รูปแบบของชุมชนต่อ
การมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาไว้มากมาย ซ่ึงผู้วิจัยจะได้นามากล่าวไว้เท่าที่จาเป็นและท่ีสอดคล้องกับแนวทาง
การศกึ ษาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางนา้ ดังน้ี การมีสว่ นร่วมของชุมชนสามารถอธิบายได้ใน 4 มิติ อันได้แก่ (1) การมีส่วน
รว่ มการตัดสนิ ใจ (2) การมีส่วนร่วมเสียสละในการพัฒนา รวมท้ังลงมือปฏิบัติตามที่ได้ตัดสินใจ (3) การมีส่วนร่วม
ในการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินงาน และ (4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการ และ
ต้องพยายามสร้างโอกาสให้สมาชิกทุกคนของชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมช่วยเหลือและเข้ามามีอิทธิพลต่อ
กระบวนการดาเนินกจิ กรรมในการพัฒนา รวมถึงได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาน้ันอย่างเสมอภาค โดยการเปิด
โอกาสให้สงั คม องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน ตั้งแต่การคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจ การวางแผน การร่วมปฏิบัติและ
การรับผิดชอบในผลกระทบท่ีเกิดขึ้น โดยทั้ง 4 มิติ ดังกล่าวจะต้องแสดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนท่ีเกิดข้ึน
จากเป้าหมายที่เช่ือมโยงกับค่านิยม ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี ความผูกพัน การเสริมแรง โอกาส
ความสามารถ การสนับสนุน ความคาดหมายในสง่ิ ทตี่ ้องการ โดยมพี ้ืนฐานของการมีสว่ นร่วมอยา่ งหลกี เลีย่ งไม่ได้

นอกจากนนั้ ยังมปี จั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ การมสี ว่ นรว่ มของการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้าอีก 3 ปัจจัย ได้แก่ (1)
ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ (2) ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ได้แก่ การศึกษา อาชีพ รายได้ และการเป็น
สมาชิกกลุ่ม (3) ปัจจัยด้านการส่ือสาร ได้แก่ การรับข่าวสารจากสื่อมวลชน และสื่อบุคคล จากแนวคิดที่กล่าวมา
ขา้ งต้น ยงั มนี กั วชิ าการได้เสนอแนวคิดถึงข้นั ตอนการมสี ่วนร่วมของชุมชน โดยเสนอว่ากระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชมุ ชน มขี น้ั ตอนการมสี ่วนร่วม ดังน้ี

113

1) การวางแผน รวมถึงการตัดสินใจในการกาหนดเป้าหมาย กลวิธี ทรัพยากรที่ต้องใช้ ตลอดจนการ
ติดตามประเมนิ ผล

2) การดาเนนิ งาน

3) การใชบ้ รกิ ารจากโครงการ

4) การมีสว่ นรว่ มในการรบั ผลประโยชน์ กลา่ วคอื

4.1) การมีส่วนร่วมในการริเร่ิมโครงการ ร่วมค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในชุมชน
รว่ มตัดสนิ ใจกาหนดความต้องการและลาดับความสาคัญของความตอ้ งการ

4.2) การมีส่วนร่วมในข้ันการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ แนวทางการดาเนินงาน รวมถึง
ทรัพยากรและแหลง่ ทรพั ยากรท่ีจะใชใ้ นโครงการ

4.3) การมีส่วนร่วมในข้ันตอนการดาเนินโครงการ การทาประโยชน์ให้แก่โครงการโดยร่วม
ชว่ ยเหลือด้านทนุ ทรัพย์ วัสดอุ ุปกรณ์ และแรงงาน

4.4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการเพ่ือให้รู้ว่าผลจากการดาเนินงานบรรลุ
วตั ถุประสงคท์ ่กี าหนดไว้หรือไม่ โดยสามารถกาหนดการประเมินผลเปน็ ระยะต่อเน่ืองก็ได้

ด้วยเหตุน้ี ชุมชนจะรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา เนื่องจากทรัพยากรการ
ท่องเที่ยวกับทรัพยากรท่ีชุมชนใช้เป็นฐานการผลิตเป็นทรัพยากรเดียวกัน วัฒนธรรมธรรมและสังคมเป็นตัว
ขับเคล่ือนจิตวิญญาณของชุมชนในการสร้างสัมพันธ์กันภายในชุมชนและการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอก ซึ่ง
ควรจะเชือ่ มโยงให้การท่องเที่ยวกบั การพฒั นาชมุ ชนเปน็ อันหน่ึงอนั เดียวกนั ยกตัวอย่างเช่น

– ด้านการจัดการ กล่าวคือ มีกฎกติกาในการจัดการส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม และการท่องเท่ียว, มีองค์กร
หรือกลไกในการทางานเพื่อจัดการการท่องเท่ียว และสามารถเชื่อมโยงการท่องเท่ียวกับการพัฒนาชุมชนโดยรวม
ได้, มีการกระจายผลประโยชน์ท่ีเป็นธรรม และมีกองทุนท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ชมุ ชน

– ดา้ นการเรยี นรู้ กล่าวคือ ลกั ษณะของกิจกรรมการทอ่ งเท่ยี วสามารถสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในวิถี
ชีวิต และวัฒนธรรมที่แตกต่าง, มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชาวบ้านกับผู้มาเยือน และสร้าง
จติ สานกึ เร่อื งการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมทัง้ ในส่วนของชาวบา้ นและผ้มู าเยือน

114

ถ้าพิจารณาจากผลการศึกษาและประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไปของ
ปจั จยั ทางสังคม (ชุมชนเป็นปจั จยั ทสี่ าคญั ต่อการเปล่ยี นแปลงของการพัฒนาการท่องเท่ียวทางน้า) ภายในประเทศ
ระดับภูมิภาคและระดับโลก ท่ีคาดว่าจะกระทบต่อการท่องเที่ยวทางน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2560- 2564
โดยเฉพาะจานวนนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้ามาใช้บริการในภูมิภาค GMS จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีอัตราของ
จานวนนักท่องเที่ยวท่ีสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยในปี ค.ศ. 2010-2014 มีระดับอัตราท่ีเพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ 35.69 ซึ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคในเรื่องของจานวนนักท่องเที่ยว ถือว่ามีระดับการแข่งขันท่ีอยู่ในระดับท่ีสูง
ท่ีสุด ดังน้ัน ผู้วิจัยมีความจาเป็นจะต้องนากรณีการศึกษาท่ีจะสามารถนามาอภิปรายว่าผลประทบดังกล่าวเป็น
อย่างไร โดยสามารถสรุปได้ว่า จะนาภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS) มาประกอบการวิเคราะห์ เนื่องจากการท่องเท่ียว
ทางนา้ ในกล่มุ แมโ่ ขงนา่ จะเปน็ ผลกระทบท่ีเห็นได้ชัดเจน และยังเป็นนโยบายท่ีสามารถนามาต่อยอดในการพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวทางเรือได้อย่างดีและมีความเหมาะสม โดยท่ัวไปแล้ว ภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS) ประกอบไปด้วย
ประเทศกมั พูชา, จีน (มณฑลยนู นานและมณฑลกวางสี), ลาว, เมยี นมา, ไทย และเวียดนาม โดยเป้าเหมายท่ีสาคัญ
คือ แนวคิดการลดระดับความยากจนในชุมชน การพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนในด้านการยอมรับและการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนา และครอบคลมุ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจเชงิ พนื้ ที่ภายใต้ปัจจัยของชุมชนท่ียกระดับความร่วมมือ
กบั หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง เช่น การสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะโครงการทุนและเงินกู้ รวมท้ังการ
ท่องเท่ียวของแม่น้าโขง อันได้แก่ โครงการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน และล่าสุดคือ โครงสร้างพ้ืนฐานการ
ท่องเที่ยวสาหรับโครงการขยายการเติบโตแบบภูมิภาค โครงการเหล่านี้มีการลงทุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ
การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน รวมไปถงึ การพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันและการตลาดการท่องเทย่ี ว

หากพิจารณาในด้านนโยบายแล้ว จะเห็นได้ว่าการท่องเท่ียวในรูปแบบล่องเรือในแม่น้ามีความจาเป็นท่ี
ต้องมีการเข้าถึงชุมชนที่มีผลต่อโครงการ GMS ท้ังภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังมีแม่น้าสายใหญ่หลายแห่งท่ีสามารถ
พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือได้ เช่น แม่น้าอิรวดี, แม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าแดง (เป็นแม่น้าที่ไหล
จากทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนผ่านทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไปส้ินสุดท่ีอ่าวตังเกี๋ย) เป็นต้น
กรณีของแม่น้าท่องเท่ียวล่องเรอื ในมหาสมุทร สถานที่ท่องเที่ยวสาคัญในภูมิภาคนี้รวมถึงการเท่ียวชมชายฝั่งที่เป็น
ท่ีนิยมท่ีอยู่ตามแม่น้า เช่น การไปเยือนสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง (Mekong Delta) อ่าวฮาลอง (เป็นอ่าวแห่งหน่ึง
ในพื้นที่ของอ่าวตังเกี๋ยทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ใกล้ชายแดนติดต่อกับประเทศจีน) และแม่น้า
เจ้าพระยา เป็นต้น ซ่ึงแนวทางกลยุทธ์ภายในประเทศที่จะนามาสู่ความสาเร็จและจะต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ
จากหลักการดงั ต่อไปน้ี

1. หลักการด้านนโยบายของภาครัฐ กล่าวคือ จะต้องมีการกาหนดการเข้าถึงระบบวีซ่าและการ
ประสานงานด้านคนเข้าเมืองมากข้ึน นอกจากน้ีการท่องเท่ียวล่องเรือในลุ่มแม่น้าโขงจะขึ้นอยู่กับนโยบายเพื่อ

115

ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานและแนวทางในการตรวจสอบประโยชน์ของการท่องเที่ยวล่องเรือไปถึงแหล่งชุมชน
เน่ืองจากดชั นีของการเพมิ่ การแข่งขันนั้นจะต้องอาศัยแหล่งชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเช่นกัน เช่น

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความ
สมดุลและยั่งยืน (ปัจจัยที่ 1 สภาพแวดล้อมที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงานในประเทศ โดยมี 4 หมวดที่สาคัญที่
สะท้อนถึงกลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ (1) การยอมรับจากชมุ ชนในการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (2) การสร้างความม่ันใจ
กับชุมชนและความปลอดภัย (3) การสร้างความเข้าใจเชิงชุมชนในการให้ความสาคัญกับสุขภาพและสุขอนามัย
และ (4) การส่อื สารและการฝึกงานเพ่ือพฒั นาทรัพยากรบุคคลและตลาดแรงงานใหก้ บั ชมุ ชน)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือรองรับการขยายตัวของ
การท่องเท่ียว โดยมีปัจจัย 2 หมวดที่สาคัญซึ่งสะท้อนถึงกลยุทธ์โครงการแม่โขง ได้แก่ (1) โครงสร้างพื้นฐาน
บริการด้านการท่องเท่ียว และ (2) โครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งทางบกและทางน้า ซึ่งทั้ง 2 หมวดมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของชุมชนเป็นอย่างมาก เนื่องจากโครงสร้างการลงทุนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างท้ัง
วฒั นธรรมและสังคม

2. ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน หากพิจารณาจาก GMS จะเห็นได้ว่า แม่น้าและ
มหาสมุทรเป็นส่วนสาคัญของชีวิตและอาจมองเป็นวิถีชีวิตของชุมชน และยังเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมใน
ภูมิภาคนี้ การท่องเท่ียวล่องเรือบนแม่น้าและมหาสมุทรเหล่านี้มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางไปใช้ชีวิตใน
ทอ้ งถนิ่ และการอัดฉดี เม็ดเม็ดเงินลงไปยังพ้ืนที่ต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้บรรลุถึงศักยภาพตามหลักการ ประเทศต่าง ๆ
ของ GMS จะต้องทางานร่วมกันและร่วมมือกบั ภาคเอกชนตามความเหมาะสมเพ่ืออานวยความสะดวกในการสร้าง
ความร่วมมือในระดับชุมชน เช่น การข้ามพรมแดนเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวในวงกว้าง
ความหลากหลายของเส้นทางการท่องเท่ียวล่องเรือในภูมิภาค และส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือรวมท้ัง วิธีการ
ขนส่ง และประสบการณ์ด้านวัฒนธรรมท่ีหลากหลายใน GMS ซึ่งระดับความร่วมมือสามารถมองข้ามระดับความ
ร่วมมือของชุมชนและยุทธศาสตร์ที่นาไปสู่ระดับความร่วมมือของชุมชน อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้กาหนด
ยุทธศาสตร์ไว้ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 3 คือ การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว และสนับสนุนการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี ว (ไม่ได้ระบุในดชั นกี ารแขง่ ขัน แต่ได้ระบไุ วใ้ นกลยุทธ์ของหน่วยงานต่าง ๆ
เชงิ บรู ณการ)

นอกจากน้ัน ปัจจัยทางสังคมในระดับภูมิภาคที่เน้นไปยังชุมชนยังส่งผลต่อการดาเนินกลยุทธ์เชิงภูมิภาค
และในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS โดยจะข้ึนอยู่กับความร่วมมือท่ีสะท้อนถึงประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค
ระดับชาติ จังหวัดและท้องถิ่น และความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน และภาครัฐ หรืออาจพิจารณาจากแนว
ทางการเป็นหนุ้ ส่วน ซงึ่ มอี งค์กรต่อไปนี้

116

1. UNWTO เป็นผู้ริเร่ิมและเป็นผู้นา องค์การระหว่างประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวบน
แม่น้าโขง UNWTO สร้างความน่าเชื่อถือสาหรับแผนการที่จะพัฒนาต่อไป โดยเฉพาะการประสานงานกับ GMS
และ NTOs (National Tourism Organizations) จาก 5 ประเทศ เพื่อปฏิบัติตามแผนการ เช่น ช่วย GMS และ
NTOs ในการจัดกจิ กรรมที่กาหนดไว้กบั ชมุ ชน

2. ความสา้ คญั ของเลขาธิการอาเซียน กล่าวคอื คณะทางานด้านการทอ่ งเท่ียวท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างย่ิง
ในการพัฒนาแนวคิดเร่อื งการทอ่ งเท่ยี วเรอื สาราญและการทอ่ งเท่ียวตามแม่น้า ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
การทอ่ งเทย่ี วอาเซียนในแผนปี ค.ศ. 2016-2025 โดยเฉพาะเมอื่ เนน้ ถงึ ชุมชนท่สี ง่ ผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ยวทาง
นา้ เช่น การชว่ ย GMS และNTOs ในการจัดกจิ กรรมตามท่กี าหนดภายใตก้ ลยทุ ธก์ บั ชุมชน

3. องค์การการท่องเที่ยวแห่งชาติของ GMS ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบด้านการ
ท่องเท่ียวในแต่ละประเทศ GMS และ NTOs จะมีบทบาทสาคัญกับชุมชน กล่าวคือ การจัดการประชุมเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารระดับชาติ ระดับจงั หวดั และระดับท้องถิ่นเกย่ี วกบั หวั ข้อของแมน่ า้ ที่ใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยว

4. คณะกรรมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River Commission: MRC) เป็นสถาบันรับผิดชอบในการ
ส่งเสริมให้เกิดความย่ังยืนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนของแม่น้าโขง โดยการท่องเท่ียวถูกระบุ
ว่าเป็นจุดสาคัญของการพัฒนา โดยเน้นการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าซ่ึงจัดโดย UNWTO,
อาเซียน, MTCO (สานักงานประสานความร่วมมือการท่องเที่ยวลุ่มแม่น้าโขง: Mekong Tourism Coordinating
Office) หรือ NTOs และรวมแหล่งข้อมูลการท่องเที่ยวแม่น้าเพื่อเป็นรูปแบบการพัฒนาและรวมถึงการจัดประชุม
ตา่ ง ๆ ซ่ึงขนั้ ตอนและกระบวนการดงั กลา่ วสะท้อนถงึ การให้ความสาคญั กบั ชุมชน

5. การพฒั นาแบบคคู่ ้า ซึง่ จะใหข้ อ้ มลู ทางเทคนิคและความช่วยเหลือทางการเงินเพ่ือสนับสนุนผลิตภัณฑ์
ของหลายประเทศ โดยรว่ มการประชุมท่ีจัดโดยชุมชน โดยเฉพาะการประชมุ เพ่อื การพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางนา้

ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ปัจจัยทางสังคมในระดับภูมิภาคที่เน้นไปยังชุมชนส่งผลต่อการดาเนินกลยุทธ์เชิง
ภูมิภาคและในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS และภายในประเทศในแต่ละประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
โดยเฉพาะนโยบายทจ่ี ะตอ้ งดาเนินยุทธศาสตร์เชงิ บูรณการโดยการนาแผนกลยุทธ์มาปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งแน่นอน
ว่าจะต้องข้ึนอยู่กับความร่วมมือท่ีสะท้อนถึงประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค ระดับชาติ จังหวัด และท้องถิ่น และ
ความร่วมมอื ระหว่างภาคเอกชน และภาครัฐ หรืออาจพิจารณาจากแนวทางการเป็นหุ้นส่วน เป็นต้น ซ่ึงในปัจจุบัน
แผนปฏบิ ตั ิการดังกล่าวยังเป็นเพียงแผน แต่การปฏิบัติยังขาดความจริงจังจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความเก่ียวข้อง
กับโครงการแม่น้าโขง ทาให้การสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนชนบท ชุมชนเมืองเล็ก ชุมชนเมืองใหญ่ และ
สง่ิ แวดล้อมชุมชนไม่กอ่ ให้เกิดประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลท่ีแทจ้ ริงในระดบั ภูมิภาคและระดับประเทศ

117

3. ผลการศกึ ษาและประเมนิ ผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ทังปัจจัยทาง
เศรษฐกจิ สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม ทงั ภายในประเทศ ระดับภมู ิภาคและระดับโลก ทีค่ าดว่าจะกระทบ
ตอ่ การท่องเที่ยวของไทยทางน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564: กรณีปัจจัยทางสง่ิ แวดล้อม

3.1 ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนต่อการทอ่ งเที่ยวทางนา้ ในระดับโลก

โลกในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมมากท่ีสุด โดยเฉพาะประเด็นของ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ซ่ึงทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมอ่ืน ๆ ตามมาอีกหลาย
ประการ ทั้งน้ีไม่ว่าภาวะดังกล่าวจะเกิดจากสาเหตุใด ๆ ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ได้สังเกตเห็นและยืนยันถึงการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2403–2543 อุณหภูมิโลกเพ่ิมขึ้นประมาณ 0.6 องศา
เซลเซียส (ศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก, 2557) ซึ่งการคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเป็นเรื่องที่ไม่
สามารถกระทาอยา่ งแม่นยาได้ ดงั นั้นการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิโลกจึงอาจเพ่ิมขึ้นในอัตราที่เร็ว หรือช้ากว่าที่ผ่านมา
กไ็ ด้

118

ภาพท่ี 3.6 อุณหภมู ิของพืนผวิ โลกทเ่ี พ่ิมขนึ ในช่วง 140 ปี (รูปบน) และในช่วง 1,000 ปี (รปู ล่าง)

ทมี่ า: *IPCC, 2001: Climate Change 2001: Synthesis Report. A

Contribution of Working Groups I, II, and III to the Third
Assessment Report of the Intergovernmental Panel on
Climate Change [Watson, R.T. and the Core Writing Team
(eds.)]. Cambridge University Press, Cambridge, United

Kingdom, and New York, NY, USA, 398 pp. อา้ งถึงใน
ศนู ย์มรดกโลก ยเู นสโก (2557)

นอกจากนี้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นอีกประการหน่ึงก็คือ การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
และการเกิดมลพิษเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ท้ังนี้การพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยมีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตอบสนองที่
สาคัญ ได้ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติลดลงอย่างรวดเร็ว และแม้ในกระบวนการผลิตจะเป็นไปในแนวทางของการ
ผลิตที่สะอาดปราศจากมลพิษ แต่ในข้อเท็จจริงสถานการณ์มลพิษในด้านต่าง ๆ ก็ยังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
บริบทของส่ิงแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปนี้ย่อมส่งผลกระทบต่อวิถีการดารงชีวิตของมนุษยชาติอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
ซึ่งในส่วนต่อไปจะได้นาเสนอถึงผลกระทบของปัจจัยส่ิงแวดล้อมดังกล่าวท่ีมีต่อโลก ผลกระทบในระดับภูมิภาค
และผลกระทบทจ่ี ะเกิดกบั การทอ่ งเทีย่ วทางน้าของประเทศไทย

ภาวะโลกรอ้ นไดท้ าให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงรปู แบบภูมอิ ากาศ และเกิดการรบกวนดุลยภาพทางธรณีฟิสิกส์
ซ่ึงนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2643 (ค.ศ. 2100) อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 1.4-5.8
องศาเซลเซียส (ศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก, 2557) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งน้ีในแหล่ง
มรดกโลกซึ่งส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญในระดับโลก พบว่า ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศได้ก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ และแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในหลาย
ประการด้วยกนั ดงั ปรากฏในภาพ

119

ภาพท่ี 3.7 ภัยคกุ คามของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศท่มี ีรายงานว่ามผี ลต่อแหลง่ มรดกโลก

ก. แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

ข. แหลง่ มรดกโลกทางวัฒนธรรม

การถอยร่นและละลายของธารนา้ แขง็
การสงู ข้ึนของระดับน้าทะเล
การสูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ
การอพยพของชนิดพนั ธ์ุ
การเปลี่ยนแปลงรปู แบบการตกของฝน
และภยั แลง้
ความถข่ี องการเกิดไฟป่า
การฟอกขาวของปะการัง
การกัดเซาะชายฝ่ัง
อ่ืน ๆ

ความถใี่ นการเกดิ เฮอริเคน
และพายุ
การสงู ข้ึนของระดับนา้ ทะเล
การกดั เซาะชายฝั่ง
อทุ กภยั
การเปลี่ยนแปลงรปู แบบการตกของฝน
ความเสยี หายตอ่ ภาพวาดภายนอก
ภัยแล้ง
อ่นื ๆ

ท่ีมา: ศนู ย์มรดกโลก ยูเนสโก (2557)

ท้ังน้ีจะได้กล่าวถึงประเด็นผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เฉพาะเรื่องที่อาจมีผลกระทบ
ต่อการทอ่ งเทยี่ วทางน้าของประเทศไทย โดยชใี้ หเ้ ห็นถงึ ตวั อย่างผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับนานาชาติ ดังนี้

120
3.1.1 การเปลี่ยนแปลงการตกของฝนและภาวะความแหง้ แลง้ ในระดับโลก
การเปลีย่ นแปลงเนอ่ื งจากสภาวะโลกรอ้ น ทาให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าวัฏจักรน้าจะมีการเปล่ียนแปลงที่
รุนแรงมากยงิ่ ขึ้น โดยมเี หตุการณฝ์ นตกรนุ แรงเพิม่ ข้ึนสง่ ผลใหเ้ กิดอทุ กภยั ในหลายพ้ืนท่ี แต่ในขณะเดียวกันภัยแล้ง
มีแนวโน้มท่ีจะเกิดถ่ีมากย่ิงขึ้น ส่งผลให้หลายพื้นที่กลายสภาพเป็นทะเลทราย ในปัจจุบันจึงได้มีอนุสัญญาว่าด้วย
การต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย (United Nations Convention to Combat Desertification:
UNCCD) ขึ้น เพ่ือดูแลในเร่ืองดังกล่าว ทั้งนี้ตัวอย่างของความเสียหายจากภาวะอุทกภัย ได้แก่ เหตุการณ์น้าท่วม
รนุ แรงที่มีความถี่เพ่ิมขึน้ ในเมอื งเวนิส ประเทศอติ าลี (Venice, Italy) ดังปรากฏตัวอย่างในภาพ

ภาพที่ 3.8 อุทกภยั ในเวนิส อติ าลี

ที่มา: Mthai News (2012)
เมืองเวนิสเป็นเมืองท่องเที่ยวที่นอกจากจะขึ้นช่ือในเรื่องของสถาปัตยกรรมอันงดงามแล้ว เมืองเวนิสยังมี

ชือ่ เสยี งในเรื่องของการเปน็ เมอื งทอ่ งเทีย่ วทางน้า ซ่ึงเป็นจดุ หมายปลายทางทสี่ าคัญสาหรบั ผู้ท่รี กั การท่องเที่ยวทาง
นา้ ดว้ ย

121
ส่วนความแห้งแล้งนอกจากจะทาให้เกิดการกลายสภาพเป็นทะเลทรายแล้ว ความแห้งแล้งยังเร่งให้เกิด
การผกุ ร่อน พงั ทลายและเรง่ การพังทลายของแหล่งท่องเที่ยวทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมได้ แต่ประเด็นผลกระทบท่ี
สาคัญที่สุด คือ ความแห้งแล้งทาให้ลาน้าแห้งลงส่งผลให้ไม่สามารถดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวทางน้าได้
ตวั อยา่ งเชน่ การเกดิ ภาวะแหง้ แลง้ ในลุ่มน้าแอมะซอน (Amazon) ประเทศบราซิล อันเป็นผลมาจากปรากฏการณ์
El Nino เม่อื ปี พ.ศ. 2558-2559 ท่ีเป็นเหตุให้อุณหภูมิน้าทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกสูงขึ้นและลดปริมาณฝนที่ตก
ลงยงั พ้นื ที่ป่าแอมะซอนลง จนล่าสดุ องคก์ ารนาซา (NASA) ไดอ้ อกคาเตือนว่าสภาพความแห้งแล้งรุนแรงอาจทาให้
ผืนป่าแอมะซอนตกอยู่ในความเส่ียงต่อการเกิดไฟป่าได้มากย่ิงขน้ึ

ภาพที่ 3.9 สภาพของแมน่ า้ แอมะซอนท่ีประสบปัญหาภาวะภยั แล้ง

ทีม่ า: คมชัดลึก (2559)
ดงั นั้นจะเห็นไดว้ ่าการเกดิ การเปลี่ยนแปลงการตกของฝนเน่ืองจากสภาวะโลกร้อน จะทาให้เกิดปัญหากับ
การทอ่ งเท่ยี วทางนา้ ทงั้ จากการเกิดอุทกภยั และภยั แลง้ ได้
3.1.2 การเปลย่ี นแปลงวงรอบและความถ่ใี นการเกิดภยั พิบตั ทิ ร่ี ุนแรงในระดับโลก
การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อน เป็นปัจจัยที่ทาให้ความถี่ของสภาวะอุ่น
(warm episodes) ในปรากฏการณ์ El Nino และความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ (Southern
Oscillation) มีการเปล่ียนแปลงเพ่ิมขึ้น ส่งผลให้ความถ่ีในการเกิดภัยพิบัติท่ีรุนแรง ได้แก่ ไฟไหม้ วาตภัย และ
พายุหมนุ เขตรอ้ นเพ่ิมมากข้ึน ภัยพิบัติเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการท่องเท่ียวทางน้าทั้งส้ิน นอกจากนี้ความถ่ีใน
การเกิดภัยพิบัติท่ีรุนแรงยังทาให้แหล่งท่องเท่ียวเกิดความเสียหายได้ ดังเช่นตัวอย่างความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับ

122
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่ีเป็นภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมในอุทยานแห่งชาติราปา นุย ประเทศชิลี (Rapa Nui National Park,
Chile) อุทยานแห่งชาติน้ีอยู่บนเกาะอีสเตอร์ ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมีรูปจาหลักหินโมไอ (Moai) เป็น
ปรากฏการณ์ทางวฒั นธรรมทโี่ ดดเดน่ ดงั ภาพ
ภาพท่ี 3.10 ผลกระทบจากความถ่ใี นการเกดิ ภัยพิบตั ิที่รุนแรงในแหล่งทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรมในอุทยาน
แห่งชาติราปา นยุ

ที่มา: Jane Downes, Kate Welham and Adam Stanford (2017)
ดังนั้นสถานที่ท่องเท่ียวแห่งนี้จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญ แต่จากภัยพิบัติที่เกิดถ่ีขึ้นและ
รุนแรงข้ึน ทาให้รูปจาหลักหินเหล่านี้เกิดความเสียหายมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังการเกิดสึนามิในปี พ.ศ. 2533
ได้มีพายุเกิดบ่อยคร้ังข้ึนทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งมากข้ึน รวมถึงกระแสลมที่รุนแรงได้ทาให้รูปจาหลักหินเกิด
ความเสียหายมากขึ้นด้วย จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่าการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบในทางลบต่อ
แหล่งท่องเท่ียวบนชายฝ่ัง ความเสียหายน้ีนอกจากจะทาลายบางส่วนของแหล่งท่องเท่ียวทางโบราณคดีบนเกาะ
ยังสง่ ผลกระทบเชิงลบอยา่ งมากตอ่ เศรษฐกิจการท่องเทย่ี วของ Rapa Nui ด้วย
3.1.3 การเพิม่ ขึนของระดับนา้ ทะเลในระดับโลก
ภาวะโลกร้อนซ่ึงทาให้เกิดการละลายของแผ่นน้าแข็งขนาดใหญ่ในบริเวณข้ัวโลก จะทาให้ระดับน้าทะเล
เพ่ิมสูงขึ้น โดยนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2643 ระดับน้าทะเลท่ัวโลกจะสูงขึ้น 0.09-0.88 เมตร ซ่ึง
จากเหตุการณ์การเกิดการละลายของแผ่นน้าแข็งที่เพิ่มมากข้ึนอย่างผิดปกติในปัจจุบัน อาจทาให้ระดับน้าทะเล
เพ่ิมสูงขนึ้ เร็วยิง่ ขน้ึ ด้วย
ระดับน้าทะเลท่ีเพ่ิมสูงข้ึนน้ีได้ทาให้แหล่งท่องเท่ียวท่ีอยู่บริเวณริมฝ่ังทะเล และบริเวณริมลาน้าจากปาก
แม่น้าเข้าไปเกิดปัญหาทั้งจากการเกิดภาวะน้าท่วม และการเกิดการกัดเซาะชายฝ่ังที่รุนแรงมากขึ้นด้วย ตัวอย่าง

123
ผลกระทบจากระดับน้าทะเลที่เพิ่มสูงข้ึน คือ แหล่งท่องเที่ยวบริเวณริมฝั่งแม่น้าเทมส์ กรุงลอนดอน สหราช
อาณาจักร ซึ่งประกอบด้วยพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ และวิหารเวสต์มินสเตอร์ รวมท้ังโบสถ์เซนต์มากาเร็ต
(Palace of Westminster and Westminster Abbey including Saint Margaret’s Church) หอคอยแห่ง
ลอนดอน (Tower of London) และเมอื งนาวีกรนี ชิ (Maritime Greenwich)

ภาพท่ี 3.11 ภาพจ้าลองการเกิดภาวะอทุ กภัยจากระดบั น้าทะเลท่สี ูงขึนหากไม่มีเคร่ืองกนั แม่นา้ เทมส์

ทีม่ า: Flood London (2012)
ทั้งน้จี ากการคาดการณ์โดยแบบจาลอง พบว่า ภายในปี พ.ศ. 2623 ระดับน้าทะเลบริเวณปากแม่น้าเทมส์
จะเพิ่มสูงขึ้นโดยประมาณ 0.26-0.86 เมตร ดังนั้นทางสหราชอาณาจักรจึงได้ออกแบบเครื่องกั้นแม่น้าเทมส์
(Thames Barriers) เพือ่ ป้องกันระดบั น้าทะเลทีเ่ พิม่ สงู ข้นึ และคลน่ื พายซุ ัดฝงั่ (Storm Surge) ซึ่งในการออกแบบ
ได้มีการคาดการณ์ว่าเครื่องป้องกันน้ีจะถูกใช้เพียง 2-3 ครั้งต่อปีเท่าน้ัน แต่ในปัจจุบันเครื่องมือนี้ถูกใช้งาน 6-7
คร้ังต่อปี จึงคาดกันว่าเครื่องมือน้ีจะใช้แก้ปัญหาภัยพิบัติน้ีได้จนถึงปี พ.ศ. 2568 เท่านั้น (สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม, 2557)
3.1.4 การเปลย่ี นแปลงคา่ ความเป็นกรดของนา้ ทะเลในระดบั โลก
การเพ่มิ ขึ้นของระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ และที่ละลายอยู่ในมหาสมุทรทาให้เกิดความเป็น
กรดของน้าทะเลที่เพิ่มขึ้น (marine acidification) ด้วยเหตุนี้ได้ทาให้ระบบนิเวศทางทะเลเปลี่ยนแปลงไปอย่าง

124
มาก สง่ ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเท่ยี วทางทะเล ซง่ึ ตัวอย่างของแหล่งทอ่ งเทย่ี วทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง
ค่าความเป็นกรดของน้าทะเล ได้แก่ แหล่งท่องเท่ียวแนวปะการังใหญ่เกรตแบริเออร์รีฟ (Great Barrier Reef)
ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจากอุณหภูมิของน้าทะเลที่สูงข้ึน และค่าความเป็นกรดของน้าทะเลที่สูงขึ้นได้ทาให้แนว
ปะการังดังกล่าวเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching) เป็นบริเวณกว้าง และกาลังขยายตัว
เพิม่ ขึ้นเร่อื ย ๆ ท้งั นป้ี ะการงั ท่ีฟอกขาวนี้ก็คอื ปะการงั ทต่ี ายแลว้ นั่นเอง

ภาพที่ 3.12 ปรากฏการณ์ปะการงั ฟอกขาวทเี่ กดิ ขึนทเี่ กรทแบรเิ ออรร์ ฟี ออสเตรเลีย

ท่ีมา: SEBASTIAN KETTLEY (2017)
ดังน้ันสาหรับการท่องเท่ียวทางทะเลโดยเฉพาะการดาน้าชมปะการัง ย่อมจะได้รับผลกระทบจาก
ปรากฏการณ์ดังกลา่ วได้

3.2 ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอ่ แหลง่ ท่องเทีย่ วบางประเทศในภมู ิภาค
ใกลเ้ คยี ง

1) เมืองเกา่ ฮอยอัน ประเทศเวยี ดนาม
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อแหล่งท่องเท่ียวทางน้าในประเทศเพื่อบ้าน

ของไทยท่ีเด่นชัดท่ีสุดน่าจะเป็น ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนที่เกิดกับเมืองฮอยอัน (Hoi An) จังหวัดกว่างน้า

125
(Quang Nam Province) ประเทศเวียดนาม ซึ่งเมืองฮอยอันเป็นเมืองเก่าที่เจริญขึ้นจากการเป็นเมืองท่าริมฝ่ัง
ทะเลจีนใต้ทางตอนกลางของประเทศ และเมืองเก่าแห่งนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็นแหล่งมรดกโลก ในปี พ.ศ.
2542 ดว้ ย

อย่างไรก็ตามในระยะหลังเมืองเก่าฮอยอันประสบกับปัญหาอุทกภัยบ่อยครั้งข้ึน เนื่องมาจาก
ปญั หาสภาวะโลกร้อนที่ทาให้เกิดฝนตกหนัก และเกิดพายุพัดเข้าสู่เวียดนามบ่อยครั้งขึ้น ทาให้เมืองมรดกโลกฮอย
อนั ซ่ึงต้ังอย่รู มิ แม่น้าทู โบน ประสบกับปญั หาอุทกภัยและนา้ ทะเลหนนุ สงู บ่อยครัง้ ขึน้

ภาพท่ี 3.13 ภาวะฝนตกหนักและน้าทะเลหนนุ สงู ท้าให้เกิดอุทกภยั ในเมืองฮอยอนั ประเทศเวียดนาม

ที่มา: Tuoitrenews (2013)

ทัง้ นี้ในปี พ.ศ. 2552 พายุไตฝ้ ่นุ กสิ นาไดพ้ ดั เขา้ สเู่ มอื งฮอยอัน ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยที่มีระดับ
น้าสูงถึง 3 เมตร ซง่ึ ทางการเวียดนามเชื่อวา่ ความเสียหายทเี่ กิดข้ึนน้ีนบั เปน็ ครงั้ ทร่ี ุนแรงท่ีสุดในรอบหลายสิบปี ทา
ให้พนื้ ทใ่ี นเขตเมืองเก่าทั้งหมดจมอยู่ใต้น้า นักท่องเที่ยวจานวนมากต้องติดอยู่ภายในเมืองเน่ืองจากสะพานที่เช่ือม
ระหว่างเมืองเก่าและตัวเมอื งฮอยอนั ถูกตดั ขาด

2) แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วในประเทศบังกลาเทศ
ประเทศบังคลาเทศเป็นประเทศท่ีได้รับผลกระทบจากการลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศค่อนข้าง

รุนแรง โดยมีฝนตกมากข้ึนส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยถ่ีขึ้น นอกจากน้ียังเกิดพายุหมุนเขตร้อนบ่อยคร้ังข้ึน

126

บ้านเรือนราษฎรจึงถูกทาลายเพราะน้าท่วมและพายุหมุน นอกจากน้ีแผ่นเปลือกโลกบริเวณนี้ยังมีการเคลื่อนที่ซึ่ง
สง่ ผลใหเ้ กิดแผน่ ดินไหวและส่งผลใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงของกระแสน้า

ทั้งน้ีประเด็นภัยพิบัติที่เกิดจากภาวะโลกร้อนอีกประการหนึ่งก็คือ การเกิดฟ้าผ่า ซึ่งอาติก ราห์
มาน ผู้อานวยการบริหารของศูนย์วิทยาการข้ันสูงของบังกลาเทศ กล่าวว่าจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate Change) ทาให้น้าระเหยไปจากแผ่นดินและมหาสมุทรมากข้ึน มีกลุ่มเมฆและฝนตกมากข้ึน และมี
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนองมากขึ้นด้วย ผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเบอร์เกเลย์คาดหมายว่า อุณหภูมิที่สูงขึ้น
ทุกๆ 1 องศาเซลเซยี สจะทาใหเ้ กิดฟ้าผา่ เพม่ิ ขน้ึ 12 เปอร์เซ็นต์ พร้อมคาดหมายว่าในช่วงปลายศตวรรษนี้จะมีเหตุ
ฟา้ ผ่าเพิม่ ขึ้นถงึ 50 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งตลอดท้ังเดือนพฤษภาคมมีผู้เสียชีวิตจากการถูกฟ้าผ่า 132 ราย และจากข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยาของบังกลาเทศ พบว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากการถูกฟ้าผ่าในบังกลาเทศนับตั้งแต่ปี 2010 อยู่ท่ี
1,476 ราย ซึ่งสงู ขึ้นกว่าภาวะปกตใิ นอดตี มาก (MGR online, 2559)

ดังน้ันในสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ ได้แก่ ชายหาด Cox’s Bazar และ เกาะ Saint Martin ซึ่งเป็น
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางทะเลยอ่ มประสบกบั ปญั หาดังกลา่ วข้างตน้ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากผลกระทบจาก
พายุไซโคลนโมรา (Mora) ในระดับ 10 ซ่ึงเป็นระดับสูงสุด มีความเร็วลม 135 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ได้พัดข้ึนฝ่ังที่
เกาะ Saint Martin และ เกาะ Teknaf ในเขตชายฝ่ังของเมือง Cox’s Bazar ที่เป็นเมืองท่องเที่ยวสาคัญทางตอน
ใตข้ องบังกลาเทศ ทาให้บ้านเรือนอย่างน้อย 15,000 หลัง พังเสียหาย มีการอพยพผู้คนในพื้นท่ีราว 200,000 คน
ออกจากพ้ืนท่ีประสบภัย แล้ว มีชาวบ้านได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนจนเสียชีวิต 3 ราย และบาดเจ็บอีก
จานวนมาก (ภาพที่ 3.14)

127

ภาพที่ 3.14 ผลกระทบของพายโุ มราตอ่ แหล่งท่องเท่ียวชายฝั่งของบังคลาเทศ

ท่ีมา: Mijankh (2017)

3) แหล่งทอ่ งเทีย่ วในประเทศญ่ปี นุ่

ประเทศญ่ีปุ่นนับเป็นประเทศท่ีประสบกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ค่อนข้างชัดเจน โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2560 ประเทศญี่ปุ่นประสบกับภัยพิบัติหลายประเภทท้ังฝนตกหนักท่ีสุดใน
รอบหลายสิบปี อุทกภัย ตลอดจนอากาศที่ร้อนจัดในช่วงเวลาเดียวกัน โดยภูมิภาคต่าง ๆ ของญ่ีปุ่นประสบกับ
ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ทั้งพายุฝนท่ีให้เกิดน้าท่วมและดินถล่มท่ีเกาะคิวชู ทาให้มีผู้เสียชีวิตมากถึง 34
คน, ฝนตกหนักที่จังหวดั อะคิตะ จนทางการท้องถ่ินตอ้ งสั่งอพยพประชาชนกว่า 26,000 ขณะที่ในกรุงโตเกียวกลับ
มีลกู เหบ็ ตกกลางฤดรู ้อน สว่ นภมู ภิ าคคนั ไซตอ้ งเผชญิ กบั อากาศทร่ี ้อนผดิ ปกตนิ อกจากน้ีญ่ีปุ่นยังมีพายุไต้ฝุ่นพัดเข้า
สู่ประเทศมากกว่าท่ีเคยมีมา โดยช่วงต้นฤดูกาลในปีนี้มีพายุไต้ฝุ่น 3-4 ลูกก่อตัวและพัดเข้าสู่ญี่ปุ่น ขณะท่ีปริมาณ
ฝนตกหนักมากท่ีสุดในรอบ 30-40 ปี โดยผู้เช่ียวชาญระบุว่าฝนท่ีตกมากกว่า 50 มิลลิเมตรต่อช่ัวโมง ส่งผลให้
ต้นไม้บนภูเขาพังทะลายและลอยเข้าซัดบ้านเรือนเสียหายซ่ึงแม้ในเมืองใหญ่ที่มีระบบระบายน้าท่ีดีก็ยังเกิดภาวะ
อุทกภัยข้ึน และด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็นเกาะยังพบว่าอุณหภูมิของน้าทะเลได้เพิ่มสูงข้ึน โดยน้าทะเลรอบ
เกาะญ่ีปนุ่ ทกุ วนั นสี้ งู ถงึ 27-30 องศาเซลเซยี ส ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักและน้าทว่ มได้มากขึน้

ดังนั้นแหล่งท่องเท่ียวที่มีช่ือเสียงจานวนมากของประเทศญี่ปุ่นย่อมประสบกับปัญหาดังกล่าว
ดังเช่นการเกิดภัยพิบัติบนเกาะคิวชูซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบแก่หมู่บ้านชาวนา tashibunoshou ในจังหวัด Oita
(ภาพที่ 3.15) เปน็ ต้น

128

ภาพที่ 3.15 อทุ กภยั ในจงั หวดั โออิตะ เกาะควิ ชู

ที่มา: ขา่ วสด (2560)

ท้ังน้ีผู้เชี่ยวชาญได้คาดการณ์ว่า ในช่วงส้ินศตวรรษที่ 20 อุณหภูมิเฉล่ียของญ่ีปุ่นจะเพิ่มข้ึนราว
4.5 องศา และโอกาสท่ีจะเกิดน้าท่วมใหญ่จะเพ่ิมข้ึนสูงถึง 2 เท่าตัว โดยอุณหภูมิท่ีเพิ่มข้ึนทุก 1 องศาจะมีความ
เสย่ี งทจี่ ะเกดิ ฝนตกหนกั เพ่มิ ขึน้ 4-13%

3.3 ผลกระทบของภาวะโลกร้อนตอ่ การทอ่ งเท่ยี วของประเทศไทย

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในส่วนของประเทศไทย จากสถิติข้อมูล 64 ปีย้อนหลัง
พบว่า ในระยะ 15 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิเฉล่ียทั้งปีของประเทศไทยเพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกติประมาณ 0.2 องศา
เซลเซียส แต่หากมองเฉพาะอุณหภูมเิ ฉลี่ยในปี พ.ศ. 2558 จะพบว่าอุณหภูมิเฉล่ียตลอดท้ังปีเพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกติ
มากถึง 0.8 องศาเซลเซียส (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560) และเม่ือ
พิจารณารายเดือนจะพบว่าอุณหภูมิเฉล่ียรายเดือนสูงกว่าค่าปกติทุกเดือน โดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายน และ
ธนั วาคม ซงึ่ เปน็ ฤดกู าลท่องเทย่ี วในหลายพื้นท่ี

129

ภาพที่ 3.16 อณุ หภูมิของประเทศไทยท่ีตา่ งจากค่าปกติ

ที่มา: สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม (2560)

ในสว่ นของอุณหภูมิที่เพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกตินี้ แม้จะมีค่าไม่สูงมากนักและไม่น่าจะมีนัยสาคัญในการส่งผล
กระทบต่อการท่องเที่ยวทางน้า แต่ความผดิ ปกติดังกล่าวก็มีแนวโน้มท่ีจะเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ อย่างต่อเน่ือง ซึ่งในระยะ
ยาวอาจส่งผลกระทบต่อการทอ่ งเท่ียวในประเทศได้ ทง้ั นศี้ นู ย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
อ้างถึงใน ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2554) ได้ศึกษาประเมินความเส่ียงจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศของคลัสเตอร์ทางการท่องเที่ยว 14 กล่มุ จังหวดั

ตารางท่ี 3.10 การวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศและความเปราะบางของคลัสเตอร์
ทางการทอ่ งเท่ียว

ความเส่ยี งต่อ ความเปราะบาง สรปุ
ภูมิอากาศ ของคลสั เตอร์
คลสั เตอรท์ างการท่องเท่ยี ว ลกั ษณะ กิจกรรม ทศวรรษ ทศวรรษ
ทศวรรษ ทศวรรษ ทาง การ 2020 2050
น้าพุร้อน 2020 2050 ภูมิศาสตร์ ท่องเทีย่ ว
การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศและผจญภยั
อารยธรรมล้านนา ตา่ สงู สูง สูง ปาน สงู
มรดกโลกเชอ่ื มโยงการท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศ กลาง
นเิ วศป่าร้อนชนื้ สงู สงู
ต่า สูง ปาน สงู
ตา่ สูง กลาง

ตา่ สูง ปานกลาง ปานกลาง ตา่ ตา่

ต่า สงู สูง สูง ต่า ปาน
กลาง

ต่า ปาน ปาน สูง
กลาง กลาง

130

ความเสยี่ งตอ่ ความเปราะบาง สรปุ
ภูมอิ ากาศ ของคลัสเตอร์

คลัสเตอรท์ างการทอ่ งเทย่ี ว ทศวรรษ ทศวรรษ ลกั ษณะ กิจกรรม ทศวรรษ ทศวรรษ
2020 2050 ทาง การ 2020 2050

ภูมิศาสตร์ ท่องเทย่ี ว

วิถีชีวติ ลุ่มแมน่ า้ ภาคกลาง ต่า ต่า ปานกลาง ปานกลาง ปาน สูง
กลาง

เลียบฝงั่ แม่น้าโขง ต่า ตา่ ต่า ปานกลาง ปาน ปาน
กลาง กลาง

เสน้ ทางไดโนเสาร์ ต่า ตา่ ตา่ ตา่ ตา่ ตา่

มหัศจรรยเ์ ส้นทางบุญ ตา่ ต่า ตา่ ต่า ตา่ ต่า

อารยธรรมอิสานใต้ ตา่ ต่า ต่า ตา่ ต่า ตา่

เส้นทางอญั มณแี ละการทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร ตา่ สงู สูง ต่า ต่า สงู

Active beach ตา่ สงู สงู สงู ปาน สูง
กลาง

Royal coast ต่า ปาน สูง สงู ปาน สูง
กลาง กลาง

มหัศจรรย์สองสมทุ ร ตา่ ตา่ สูง สูง ปาน สูง
กลาง

ท่ีมา: ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552) อ้างถึงใน ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย (2554), ไม่สามารถระบุจังหวัดเน่ืองจากเป็นแนวทางการแบ่งเชิงนโยบาย จึงไม่สามารถระบุจังหวัด

ได้อย่างชดั เจน

สาหรับกลุ่มคลัสเตอร์ทางด้านการท่องเที่ยวจากตาราง จะเห็นได้ว่าโดยสรุปแม้ว่าในทศวรรษ 2020
ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโดยส่วนใหญ่ยังไม่อยู่ในระดับสูง แต่ในทศวรรษ 2050 ปัญหาการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศจะสง่ ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเทย่ี วสงู ยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ พิจารณาในประเด็นของกลุ่ม
ท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทางน้า ได้แก่ กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย กลุ่มวิถีชีวิตลุ่มแม่น้า
ภาคกลาง กลุ่ม Active beach กลุ่ม Royal coast และ กลุ่มมหัศจรรย์สองสมุทร จะเห็นได้ว่าในทศวรรษ 2050
ทกุ กลุม่ จะประสบปญั หาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศในระดบั ท่ีสงู ท้งั ส้ิน

อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาผลกระทบของภาวะโลกร้อนในประเด็นเดียวกันกับท่ีได้ยกตัวอย่างผลกระทบ
ในต่างประเทศไปขา้ งต้นแลว้ จะพบวา่ ประเดน็ ปจั จยั สิ่งแวดลอ้ มในแต่ละประเดน็ มสี ถานการณ์ล่าสุดดังนี้

131

3.3.1 การเปลีย่ นแปลงการตกของฝนและภาวะความแห้งแล้งของประเทศไทย

การคาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงปริมาณฝนสาหรับประเทศไทยเป็นเร่ืองท่ีทาได้ค่อนข้างยาก เน่ืองจาก
บางปีปริมาณฝนจะสูงกว่าปกติมาก ในขณะที่บางปีปริมาณฝนต่ากว่าปกติมากเช่นเดียวกัน แต่หากมองเฉพาะ
ปรมิ าณน้าฝนในแตล่ ะชว่ งฤดกู าลจากการเปล่ียนแปลงปริมาณน้าฝนในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา พบว่า ประเทศไทยจะ
มปี ริมาณฝนสงู กวา่ ค่าปกตติ ดิ ตอ่ กนั ทุกปใี นช่วงฤดรู ้อน ส่วนช่วงฤดหู นาว และฤดฝู นจะผนั แปรไปในแตล่ ะปี

ภาพที่ 3.17 ปรมิ าณฝนของประเทศไทยทตี่ ่างจากคา่ ปกติ

ที่มา: สานกั งานนโยบายและ
แผนทรพั ยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดลอ้ ม (2560)

การเปล่ียนแปลงการตกของฝนมีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับฤดูการท่องเท่ียว ทั้งนี้ฝนที่ตกชุกเป็นอุปสรรค
ต่อกิจกรรมการท่องเท่ียวโดยเฉพาะการท่องเท่ียวทางน้า อีกท้ังยังเสี่ยงต่อการเกิดน้าป่าไหลหลากและดินโคลน
ถล่ม นอกจากน้ีฤดูมรสุมที่ผันแปรไปยังเป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยวทางทะเลเน่ืองจากคล่ืนลมท่ีรุนแรงด้วย
ดังนั้นสถานการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีทาให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกมากขึ้น และช่วงฤดูมรสุมที่
ยาวนานมากข้ึน จะทาให้ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมกับการท่องเที่ยว (low season) มีระยะเวลายาวนานยิ่งข้ึนอย่าง
หลกี เลยี่ งไม่ได้

ในทางกลับกันฤดูแลง้ ท่ียาวนานกว่าปกติในบางปี ก็เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยวทางน้าด้วยเช่นเดียวกัน
ลาน้าแห้งลงย่อมไม่สามารถประกอบกิจกรรมการท่องเท่ียวประเภทการล่องแก่ง หรือล่องเรือชมทิวทัศน์สองฝ่ัง
ของลาน้าได้ นอกจากนี้น้ายังเป็นทรัพยากรสาคัญของการท่องเที่ยว การขาดแคลนน้าจะทาให้ที่พักของ
นักท่องเท่ียวท้ังโรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ ประสบปัญหาในการรับรองนักท่องเที่ยว อีกทั้งกิจการอื่น ๆ ท่ี
เก่ียวข้องก็จะประสบปัญหาตามไปด้วย

ดังนน้ั การเปล่ยี นแปลงการตกของฝนท่มี ีทัง้ การมปี ริมาณฝนท่สี ูงเกินกว่าค่าปกติ การมีฤดูมรสุมท่ียาวนาน
ย่ิงข้ึน และการเกิดภาวะแห้งแล้งย่อมเป็นอุปสรรคต่อการจัดการท่องเท่ียว โดยเฉพาะการท่องเท่ียวทางน้า และ
การทอ่ งเที่ยวทางทะเล

132

3.3.2 การเปลย่ี นแปลงวงรอบและความถี่ในการเกดิ ภัยพิบัติทร่ี ุนแรงของประเทศไทย
ภัยพิบัติท่ีรุนแรงหลายประเภท เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะการ
เกดิ พายุหมนุ ท้งั นีจ้ ากสถติ ิย้อนหลังจะเหน็ ได้วา่ จากปี พ.ศ. 2508 จานวนพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศ
ไทยมแี นวโน้มที่จะลดลง แต่หากพิจารณาในรายละเอียดจะเห็นได้ว่าความถ่ีในการเกิดพายุหมุนท่ีมีความรุนแรงมี
แนวโน้มที่จะเกิดเพิ่มมากขึ้น ดังเช่นการเกิดพายุใต้ฝุ่นเคล่ือนเข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2532 หรือการเกิดพายุ
โซนรอ้ นท่ีมีแนวโนม้ เพ่มิ มากขน้ึ ดังปรากฏในภาพ

ภาพที่ 3.18 จ้านวนพายหุ มุนเขตร้อนทีเ่ คลอ่ื นเขา้ สปู่ ระเทศไทย

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดลอ้ ม (2560)

สาหรับภัยพบิ ตั ิประเภทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ การเกิดดินถล่ม ดิน
ไหล ดนิ ทรุด และตลิง่ ทรุดตัว จะเหน็ ได้ว่า จานวนคร้ังของการเกิดภัยพิบัติมีแนวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. 2554 แต่ก็
มีแนวโน้มท่ีจะเพม่ิ ขนึ้ ตามวงรอบซง่ึ ตอ้ งตดิ ตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ตอ่ ไป

133

ตารางท่ี 3.11 เหตภุ ยั พิบัติธรรมชาตทิ ่เี กิดขึนในประเทศไทยในชว่ ง พ.ศ. 2554-2558

เหตุภยั พิบัติ 2554 ปี พ.ศ. 2558 รวม
2555 2556 2557

ดินถล่ม 11 4 5 13 8 41
ดนิ ไหล
ดินทรดุ 93 28 10 2 – 133
ตลิ่งทรุดตวั
8 8 – – – 16

2 9 1 1 2 15

ท่ีมา: กรมทรัพยากรธรณี (2558) อา้ งถึงใน สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (2560)

เหตุการณ์ดินไหลหรือดินถล่มเกิดข้ึนจากฝนที่ตกต่อเนื่อง ซึ่งในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือน
กันยายน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยเกิดเหตุดินถล่มถึง 13 แห่งใน 9 จังหวัด ส่วนภัยพิบัติในเร่ืองของดินทรุดและ
ตลิ่งทรุด (Bank Erosion) เกิดจากการเปล่ียนแปลงของระดับน้าในแม่น้า ทาให้เกิดความแตกต่างของระดับน้าใต้
ดนิ กับน้าในแมน่ ้า ดังนนั้ ในช่วงทร่ี ะดบั นา้ ในแม่นา้ ลดตา่ ลงมาก ๆ จึงมกั เกิดเหตุการณ์ดินทรุดหรือตล่ิงทรุด ดังเช่น
เหตุการณ์ทรุดตัวของตล่ิงริมแม่น้าป่าสักบริเวณอาเภอท่าหลวง และอาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เม่ือ
วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ท่ีเกิดการทรุดตัวของตลิ่งริมแม่น้าเป็นความยาวถึง 50 เมตร ลึก 2 เมตร กว้าง 3
เมตร หรอื การทรดุ ตัวของตลิ่งทบี่ า้ นหนองผักบุ้ง หมู่ 1 ตาบลนายม อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เม่ือ
วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ซ่ึงการทรุดตัวลึกเข้าถึงเสาเรือนของบ้านเรือนประชาชนด้วย (สานักงานนโยบาย
และแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560) ดังปรากฏในภาพ

134

ภาพที่ 3.19 เหตุการณต์ ลิ่งทรดุ ตวั ทบ่ี ้านหนองผักบุ้ง หมู่ 1 ตา้ บลนายม อ้าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวดั
เพชรบูรณ์

ทม่ี า: สานกั ขา่ วไอ.เอน็ .เอ็น. (2558)

ดังนั้นทั้งพายุ ดินถล่ม และตลิ่งทรุดตัว ล้วนทาให้เกิดปัญหากับกับการท่องเที่ยวทางน้าท้ังสิ้น การ
เปลีย่ นแปลงวงรอบและความถี่ในการเกดิ ภยั พบิ ัติจึงเปน็ ปญั หาทตี่ ้องตดิ ตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ตอ่ ไป

3.3.3 การเพิม่ ขึนของระดับน้าทะเลของประเทศไทย

ในส่วนของประเทศไทย ช่วงระหวา่ งปี พ.ศ. 2550-2558 คา่ ระดับนา้ ทะเลปานกลางเฉล่ียมีแนวโน้มสูงขึ้น
ดังปรากฏในภาพ

ภาพท่ี 3.20 คา่ เฉลี่ยระดบั นา้ ทะเลปานกลาง ณ สถานีตรวจวัดระดับนา้ เกาะหลกั จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์

ทม่ี า: กรมอุทกศาสตร์ กองทพั เรือ (2559)
อ้างถึงใน สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(2560)

พ.ศ.
หมายเหต:ุ พ.ศ. 2559 เป็นข้อมลู เฉล่ยี ช่วงเดอื นมกราคม-พฤษภาคม

[Update] แผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้ำของไทย พ.ศ. 2560-2564-Flip eBook Pages 101 – 150 | ท่อง โลก ไดโนเสาร์ ตอน ทา ร์ โบ ซอ รัส – Australia.xemloibaihat

85
ภาพท่ี 3.1 ผลกระทบด้านปัจจยั ทางเศรษฐกจิ ในระดบั โลกใน ปี ค.ศ. 2015 (จ้านวนนกั ท่องเท่ียว จ้านวน

แรงงาน รายได้ และรายไดป้ ระชาชาติของโลกในด้านการทอ่ งเท่ียวเรอื สา้ ราญ)

ที่มา: Cruise Industry Outlook (December 2016)
การทอ่ งเท่ียวเรอื สาราญจึงถือเป็นการทอ่ งเที่ยวทางน้าท่ีเจาะกลุ่มนักท่องเทย่ี วคุณภาพ ท่ีสนใจเดินทางไป

ท่องเท่ียวโดยเรือสาราญเพ่ือเยี่ยมชมเมืองท่าต่าง ๆ การจัดการการท่องเท่ียวเรือสาราญจึงมีหลากหลายมิติ ไม่ใช่
แค่การพัฒนาท่าเรือเท่านั้น แต่จะต้องพัฒนาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวอ่ืน ๆ ควบคู่กันไป เม่ือบริบทการ
ท่องเที่ยวเรือสาราญเปล่ียนไปดังท่ีกล่าวข้างต้น การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทุกภาคีที่เกี่ยวข้องต้อง
แสดงบทบาทและหน้าที่ในการขับเคลื่อนและประสานงานผ่านนโยบายและกลยุทธ์ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์การท่องเที่ยวเรือสาราญโลก ถ้าพิจารณาจากความสามารถของการท่องเท่ียวเรือสาราญ จะเห็นได้ว่า
จากภาพ 3.2 แสดงถึง ศักยภาพของภาคบริการ หรือศักยภาพในการบรรจุผู้โดยสารบนเรือมีศักยภาพท่ีสูงมากถึง
25.8 ล้านคนตอ่ ปี

86

ภาพที่ 3.2 ศกั ยภาพการบรรจผุ โู้ ดยสารบนเรือสา้ ราญในระดับโลกระหว่าง ปี ค.ศ. 2009-2016

ทม่ี า: Cruise Industry Outlook (December 2016)

ดังน้ัน ข้อมูลดังกล่าวสามารถเป็นตัวชี้วัดที่สาคัญในธุรกิจเรือสาราญเป็นท่ีรู้จักในประเทศไทยมากว่า 3
ทศวรรษ หน่วยงานภาครัฐต้องเร่ิมและมีความต้ังใจในการกาหนดนโยบายภายใต้แผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียว
ทางน้าหรือพัฒนาการท่องเท่ียวเรือสาราญในประเทศไทย (สาเหตุท่ีไม่มีการขับเคลื่อนการท่องเท่ียวประเภทน้ี
เพราะหน่วยงานภาครัฐมองว่านักท่องเที่ยวเรือสาราญส่วนใหญ่มาเที่ยวเช้า-เย็นกลับ จึงนับเป็นนักทัศนาจร
(Excursionist) ไมใ่ ชน่ ักท่องเที่ยว (Tourist) ด้วยเหตุผลในการคิดในเชิงจานวนนักท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว) โดย
ภาคเอกชนไม่ควรเป็นผู้ขับเคล่ือนโดยลาพัง แต่ภาครัฐต้องเข้ามาจัดการภายใต้ข้อจากัดต่าง ๆ ในขณะท่ีหลาย
ประเทศมีการขับเคล่ือนผ่านนโยบายที่เป็นรูปธรรม ชัดเจน รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาท่าเรือและปัจจัย
เกี่ยวข้องอ่ืน ๆ เพ่ือขับเคล่ือนและแย่งชิงความได้เปรียบ โดยเฉพาะสัดส่วนของตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ปัญหาของข้อจากัดท่ีภาครัฐควรพิจารณา คือ หน่วยงานที่เก่ียวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจในธุรกิจเรือ
สาราญ เพราะฉะน้ันภาครัฐควรจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเรือสาราญ เช่น การก่อตั้ง
คณะกรรมการจากทุกภาคีเพ่ือขับเคลื่อนและประสานการทางานร่วมกันแบบบูรณาการเพื่อกาหนดแผนระยะส้ัน
ระยะกลาง และระยะยาว กาหนดงบประมาณในการพัฒนาตามลาดับความสาคัญ เพื่อสร้างโอกาสและรายได้จาก
อุตสาหกรรมประเภทน้อี ย่างเปน็ รปู ธรรมและชดั เจน โดยเฉพาะแนวคดิ การตงั้ คณะกรรมการของการท่องเที่ยวทาง
นา้ อย่างเชน่ ในประเทศแคนาดา

87

ภาพที่ 3.3 ความต้องการของการทอ่ งเทยี่ วเรอื ส้าราญระดบั โลกในช่วงปี ค.ศ. 2005-2015

ท่มี า: Cruise Industry Outlook (December 2016)

จากภาพ 3.3 แสดงถงึ ความตอ้ งการของการท่องเทีย่ วเรอื สาราญในช่วงปี ค.ศ. 2005-2015 โดยจะเห็นว่า
ระดับความต้องการของนักท่องเที่ยวมีระดับที่เพิ่มข้ึนร้อยละ 62 ซึ่งจัดว่าเป็นระดับความต้องการที่สูง ปัจจัย
ดังกลา่ วไดส้ ะทอ้ นถงึ โอกาสในการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วทางน้า แต่การดาเนินนโยบายการท่องเที่ยวทางน้า
ของประเทศไทยจะต้องมีแผนแม่บทการพัฒนาและยุทธศาสตร์ท่ีสะท้อนถึงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลไทยยังไม่กาหนดนโยบายที่ชัดเจน โอกาสของการกระตุ้นรายได้ของภาคเอกชนด้านการ
ท่องเท่ียวและการจัดเก็บรายได้ก็จะมีแนวโน้มท่ีลดลง ระดับการแข่งขันก็จะไม่สามารถสะท้อนถึงการแข่งขันใน
ระดับภูมิภาคใด ๆ ได้ เหตุผลดังกล่าวนามาซ่ึงการตัดสินใจของภาครัฐในการเริ่มนโยบายดังกล่าวและถือเป็น
Road Map (มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559) ท่ีเป็นทางการในเร่ืองแนวทางการพัฒนาท่า
เทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพื่อการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) เพราะได้กาหนดท้ัง

88

ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการออกมาอย่างชัดเจน โดยมติคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาถึงปัจจัยด้านการ
ลงทุนและรายได้ท่ีจะไดร้ บั จากการลงทุน โดยแนวทางของการพัฒนาการท่องเท่ียวเรือสาราญ ได้แก่ (1) รับทราบ
ความก้าวหน้าในการพิจารณาแนวทางการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการ
ท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) (2) เห็นชอบแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ
(Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) (3) มอบหมายกระทรวงการคลัง (กค.)
โดยกรมธนารักษ์เร่งพิจารณาหาผู้ประกอบการท่าเรือน้าลึกภูเก็ตเพ่ือให้สามารถปรับปรุงท่าเรือน้าลึกภูเก็ตให้มี
ความพร้อมในการรองรับเรือโดยสารเพ่ือการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) ได้โดยเร็ว โดยมีสาระสาคัญของเร่ือง
คอื กรมเจ้าทา่ ได้เสนอแนวทางการพัฒนาท่าเทียบเรือสาราญ (Yacht) และท่าเทียบเรือโดยสารเพ่ือการท่องเที่ยว
ขนาดใหญ่ (Cruise) ซ่ึงสรุปสาระสาคญั ได้ ดงั นี้23

1. ทา่ เทยี บเรอื สาราญ (Yacht) ปจั จบุ นั ประเทศไทยมีท่าเทียบเรือ Yacht ทง้ั หมด 11 แห่ง กระจายอยู่ใน
บริเวณจังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตราด ชลบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงกรมเจ้าท่าได้เคยศึกษาความเหมาะสมทาง
เศรษฐกิจ วศิ วกรรมและสิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื ก่อสรา้ งท่าเทียบเรือ Yacht บริเวณชายฝ่ังทะเลอ่าวไทยและอันดามัน เมื่อ
ปี พ.ศ. 2547 พบว่ามีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาท่าเทียบเรือ Yacht ได้ในพ้ืนท่ี 33 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ทะเล
อันดามัน 11 แห่ง (ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบ่ี ตรัง และสตูล) และพื้นท่ีทะเลอ่าวไทย 22 แห่ง (สมุทรปราการ
ชลบุรี ระยอง จันทบรุ ี ตราด เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ ชมุ พร สุราษฎรธ์ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี และ
นราธิวาส)

2. ท่าเทียบเรือโดยสารเพื่อการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ (Cruise) ปัจจุบันประเทศไทยไม่มีท่าเรือโดยสารเพ่ือ
การท่องเท่ียวขนาดใหญ่ (Cruise) เป็นการเฉพาะ โดยต้องเทียบท่าผ่านท่าเทียบเรือสินค้า เช่น ท่าเรือกรุงเทพ
ท่าเรือแหลมฉบัง และท่าเรือน้าลึกภูเก็ต ซึ่งไม่มีส่ิงอานวยความสะดวกที่สอดคล้องกับความต้องการของเรือ
Cruise เช่น ทัศนียภาพของท่าเทียบเรือ การตรวจคนเข้าเมือง ร้านค้าและสถานบริการต่าง ๆ เป็นต้น และพื้นที่
อ่ืน ๆ ไม่มีท่าเทียบเรือที่สามารถรองรับเรือ Cruise ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องใช้วิธีการทอดสมอกลางทะเล
และใหผ้ โู้ ดยสารลงเรอื เลก็ เพอ่ื ขึ้นฝ่ังตอ่ ไป

อย่างไรกต็ าม แม้ว่าประเทศไทยจะไม่มีท่าเทียบเรือท่ีสามารถรองรับเรือ Cruise เป็นการเฉพาะ โดยต้อง
เทยี บทา่ ผ่านท่าเทียบเรอื สนิ ค้า แต่จากกาหนดการการท่องเที่ยวด้วยเรอื Cruise ในปี พ.ศ. 2558 ที่แจ้งไว้ล่วงหน้า
พบว่า มีเรือ Cruise เข้ามาท่องเที่ยวอย่างต่อเน่ือง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพการท่องเที่ยวของประเทศไทยด้วย
เรือ Cruise และเรือ Cruise ส่วนใหญ่จะจอดแวะพักที่ท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังเฉลี่ยประมาณ 2 วัน
ในขณะที่พ้ืนที่อ่ืน ๆ เรือ Cruise จะเป็นเพียงการจอดแวะพักแบบเช้าเย็นกลับ ซ่ึงเรือ Cruise ที่เข้ามาในประเทศ

23 เอกสาร ผลการประชมุ คณะรัฐมนตรใี นสว่ นทีเ่ กี่ยวข้องกับกระทรวงคมนาคม (28 กรกฎาคม 2558) ฉบับท่ี 245/2558

89

ไทยเป็นการท่องเที่ยวระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์มากที่สุด โดยเป็นการท่องเท่ียวที่มีจุดเริ่มต้นหรือ
จดุ ส้นิ สดุ การเดินทางทที่ า่ เรอื สิงคโปร์ คดิ เป็นร้อยละ 80.9

กล่าวโดยสรุป ถ้าพิจารณาจากปัจจัยทางเศรษฐกิจในระดับโลก ภูมิภาค และระดับประเทศจะเห็นได้ว่า
โอกาสในการสร้างรายได้ให้กับประเทศมีระดับท่ีสูงมาก โดยเฉพาะการจ้างงาน รายได้ในภาคการท่องเที่ยวและ
ภาคบริการ และรายได้ของภาครัฐ ซ่ึงปัจจัยทางเศรษฐกิจดังกล่าวเอ้ือต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าใน
ประเทศ โดยเฉพาะระดับการแข่งขันการท่องเท่ียวเรือสาราญในตลาดโลกท่ีสูงข้ึนซ่ึงนามาสู่แหล่งรายได้ท่ีสูงข้ึ น
เช่นกัน ดังน้ัน ภาครัฐของไทยจะต้องศึกษาเพ่ือกาหนดพ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสมจะพัฒนาเป็นท่าเทียบเรือ Yacht
เพิ่มเติม พร้อมท้ังรับฟังความเห็นจากประชาชนในพ้ืนที่และทดสอบตลาด (Market Sounding) เช่น (1) การ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย/ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องเพื่ออานวยความสะดวกแก่เรือ Yacht และบุคคลที่เข้ามากับเรือ
Yacht (2) จัดมหกรรมเรือ Yacht เพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางมารีน่าของอาเซียน (Thailand :
Marina Hub of ASEAN) และ (3) พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้าและสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยวทางทะเลและ
ธุรกจิ ตอ่ เนือ่ ง ตลอดจนกระตุ้นเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

1.3 การท่องเทย่ี วริมฝัง่ แมน่ า้ และทะเลในระดบั โลก ภูมภิ าค และประเทศไทย

ปัจจัยทางเศรษฐกิจในระดบั โลก

การแข่งขันในระดับโลกน้ันโดยเฉพาะการท่องเที่ยวริมฝั่งแม่น้ามีความสาคัญกับรายได้ของภาครัฐ
โดยเฉพาะการขับเคล่ือนการแข่งขันการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางบริเวณแม่น้าในด้านการเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ
และทางวัฒนธรรม ท่ีโดดเด่น โดยเน้นด้านการอนุรักษ์ให้แก่ประชาชนและธุรกิจในท้องถิ่นเป็นหลัก การแข่งขันที่
สะท้อนถึงรายได้ของภาครัฐ เอกชน และชุมชน ดังกล่าว ภาครัฐในแต่ละประเทศจะต้องคานึงถึงการแข่ งขันใน
ระดับโลก โดยเน้นการใช้กลยุทธ์กับการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวทางแม่น้า ซึ่งสามารถ
แบง่ ไดเ้ ป็นการสรา้ ง พฒั นา ฟืน้ ฟู และเชอื่ มโยงแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วอ่นื ๆควบค่กู ัน โดยการจากัดจานวนนักท่องเที่ยวให้
เหมาะสมกับศักยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว เพ่ือเป็น การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวไม่ให้เส่ือมโทรม และรักษา
คุณค่าด้านการท่องเท่ียวทางน้า โดยการแข่งขันที่สะท้อนการได้เปรียบนั่น รัฐจะต้องมีการดาเนินการในการสร้าง
จุดแข็งเพ่ือการแข่งขันในระดับโลก โดยเฉพาะ การแข่งขันในระดับที่สูงของแหล่งท่องเที่ยวแม่น้าในสหภาพยุโรป
อนภุ มู ภิ าคแมโ่ ขง และในแถบประเทศเอเชีย โดยเฉาะประเทศสิงคโปร์ และมาเลเซีย เป็นต้น โดยรัฐที่ประสบได้มี
ความสาเรจ็ นัน่ จะต้องดาเนนิ กลยุทธ์ท่สี าคัญเบอ้ื งต้นดงั นี้

1. พฒั นาศักยภาพในการรองรบั นักท่องเท่ยี วทางนา้ ที่สาคัญๆ เช่น การเพิ่มจานวนส่ิงอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ ในการเดินทางและการท่องเท่ียวทางน้า เช่น สถานท่ีพักแรม โครงสร้างพ้ืนฐานในการอานวยความสะดวก

90

สาหรบั การเดนิ ทาง สนับสนุนแหลง่ ท่องเท่ียวต่างๆเพื่อช่วยผู้ประกอบการในการดาเนินกิจกรรมการท่องเท่ียวทาง
นา้ เป็นตน้ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั ปริมาณนักทอ่ งเทย่ี ว

2. ศึกษาโครงการควบคุมผลกระทบจากการท่องเท่ียวทางน้าต่อชุมชนด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสงิ่ แวดลอ้ ม

3. การส่งเสริมและสนับสนุนให้จังหวัดต่างๆการจัดทาแผนแม่บทพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้าของจังหวัด
และกลมุ่ จังหวัดให้มีความสอดคล้องเช่ือมโยงกบั แผนแมบ่ ทพฒั นาการท่องเที่ยวระดับประเทศและการบูรณการใน
ระหว่างประเทศ

4. ขอความร่วมมือจากหน่วยงานและประเทศเพื่อนบ้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดสรรงบประมาณ
ร่วมกัน ให้จัดสรรงบประมาณโดยพิจารณาจากโครงการท่ีอยู่ในแผนแม่บทที่บรรจุการท่องเท่ียวทางน้าในระดับ
กลุ่มความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ

5. พัฒนาความร่วมมือด้านการท่องเท่ียวตามพันธกรณีระหว่างประเทศ โดยการส่งเสริมให้นักธุรกิจด้าน
การท่องเท่ยี วไทยทม่ี คี วามพรอ้ ม ขยายการลงทุนและการให้บริการไปสู่ต่างประเทศต่างๆ มากขึ้น เช่น ดาเนินการ
ด้านการออก Joint Visa หรือ Single Visa

6. ริเร่ิมและผลักดันภารกิจและกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวทางน้าท่ีส่งเสริมการเช่ือมโยง แหล่งท่องเท่ียว
ระหวา่ งประเทศ (Connectivity) และการพัฒนาความโดดเด่นของคุณภาพการท่องเท่ียวทางน้า (Water-Quality
Tourism) เช่น การศึกษาและส่งเสรมิ ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวในอินโดจีน และความร่วมมือกับ
ประเทศในภมู ภิ าคเพ่ือสร้างเส้นทางการทอ่ งเท่ยี วที่เชอ่ื มโยงกนั

7. สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวให้มีความรู้ความสามารถในการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การอบรมสัมมนา และการแลกเปล่ียนข้อมูลและองค์ความรู้ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะ ความสัมพันธ์ระหว่ าง
แหล่งทอ่ งเท่ียวทางนา้ และการยกระดบั รายไดเ้ ชิงบรู ณการในระดบั อนภุ มู ภิ าค

91

1.4 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวริมแม่น้าและทะเลเพ่ือยกระดับการแข่งขันในระดับโลก
ส้าหรบั ประเทศท่พี ัฒนาแลว้ 24

ในปัจจุบัน สถานภาพของพื้นท่ีริมน้าส่วนใหญ่ทั่วโลกอยู่ในสองสถานะ คือ เสื่อมโทรมและถูกทิ้งร้าง
(Deterioration of Waterfronts) ซ่ึงพบได้ในประเทศกาลังพัฒนาหรือประเทศที่ขาดกลไกการวางแผนและ
พฒั นาเมืองท่ีมีประสิทธิภาพซึ่งส่งผลให้เมืองและประเทศสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ และอีกหน่ึงสถานะคือพื้นที่
รมิ นา้ ที่ไดร้ บั การฟื้นฟแู ละพัฒนาเพื่อเป็นกลไกทางเศรษฐกิจและสังคมของเมือง (Rediscovery of Waterfronts)
ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้สอยเดิมของพื้นที่ริมน้าให้เกิดศักยภาพทางสังคมและเศรษฐกิจสูงสุด เช่น การวาง
แผนพัฒนาพื้นที่แบบองค์รวมโดยให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ระบบนิเวศของแหล่งน้าและบริบท
แวดล้อม การกาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษและส่งเสริมการสร้างพื้นท่ีใช้งานแบบผสม ( Mixed-Use
Development) การส่งเสริมการลงทุนและการให้สิทธิพิเศษทางภาษีกับการลงทุนแบบรัฐร่วมเอกชน (Public-
Private Partnership) การกาหนดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกและการรักษาสิทธ์ิในการเข้าถึงพ้ืนท่ีริมน้าของ
ประชากรเมืองอย่างเท่าเทียมกัน พ้ืนท่ีริมน้าท่ีได้รับการฟ้ืนฟูและพัฒนาเช่นนี้ทาให้ศักยภาพหลายด้านของเมือง
เดน่ ชดั มากขึ้น เชน่ การเกดิ พ้นื ท่เี ศรษฐกิจใหมข่ องเมือง การขยายตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ การเพิ่มทางเลือก
ของพ้ืนท่ีอยู่อาศยั และการประกอบธรุ กจิ การค้นพบอาคารสาคัญทางประวัติศาสตร์ที่สามารถนามาปรับเปลี่ยนให้
เกดิ การใช้สอย (Adaptive Reuse) ร่วมสมยั หลายเมอื งใหญใ่ นโลกมีพื้นท่ีริมน้าเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งทาง
วัฒนธรรมและเศรษฐกจิ สง่ ผลให้เกิดกระแสดงึ ดูดการท่องเท่ยี วเพอ่ื สัมผสั ประสบการณ์พืน้ ท่ีริมนา้ ระดับโลก

พนื ที่ร้างรมิ น้าจากการผลิตและการขนส่งในอดีต

ด้วยความจาเป็นทางธรรมชาติ การต้ังถิ่นฐานของมนุษย์ต้ังแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จาเป็นต้องพ่ึงพา
พ้ืนท่ีริมน้าเพ่ือให้มนุษย์สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ตั้งแต่การบริโภค การหาอาหาร และการใช้แม่น้าลาคลองเป็น
โครงข่ายสัญจรตามธรรมชาติที่มนุษย์ใช้งานมาเป็นเวลาช้านาน ส่ิงเหล่านี้ทาให้กระบวนการเปล่ียนแปลงพ้ืนที่
ธรรมชาติเป็นพ้ืนที่เมืองเกิดข้ึนบริเวณพ้ืนท่ีริมน้าเป็นส่วนใหญ่ การต้ังเมืองหลวงและเมืองสาคัญของโลกใน
ช่วงเวลาตอ่ มาลว้ นมีแนวคดิ เชิงยุทธศาสตร์เพื่อใช้ศักยภาพของพื้นที่ริมน้า ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่เพ่ือความมั่นคง พื้นที่
เพ่ือการพาณิชย์ พ้ืนที่เพื่อการเดินทางขนส่ง และพ้ืนที่เพ่ือการอุตสาหกรรม ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงต้น
คริสต์ศตวรรษที่ 20 การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีบทบาททาให้เกิดพื้นท่ีการผลิตท่ีใกล้กับพื้นท่ีริมน้าเพื่อการขนส่ง
สินคา้ พืน้ ทีด่ งั กลา่ วจึงกลายเป็นพน้ื ที่ภาคอตุ สาหกรรมทม่ี ศี กั ยภาพสงู ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ และ
เม่ือเศรษฐกิจการค้าเกิดข้ึนบนพื้นที่น้ี พ้ืนที่ศูนย์กลางเศรษฐกิจของทุกเมืองในโลกจึงต้ังอยู่ในตาแหน่งท่ีใกล้พ้ืนท่ี
รมิ น้านั่นเอง

24 ผศ.ดร.พีรดร แก้วลาย อ้างอิงจาก http://www.tcdc.or.th/creativethailand/article/CoverStory/22925

92

เม่ือถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 20 รถยนต์และโครงข่ายถนนกลายเป็นทางเลือกใหม่ของการพัฒนา
ประเทศ ภาคอุตสาหกรรมที่เน้นการผลิตแบบจานวนมากต่างย้ายท่ีตั้งไปแถบชานเมืองบนท่ีดินราคาถูกกว่า การ
ขนส่งด้วยรถขนาดใหญ่บนโครงข่ายถนนและการขนส่งระบบรางท่ีแผ่ออกไปทุกภูมิภาคอย่างรวดเร็ว ทาให้พ้ืนท่ี
รมิ น้าหมดความสาคัญลง เม่อื การพัฒนาเรมิ่ หนั หลงั ให้กบั แมน่ า้ พืน้ ทร่ี มิ น้าจึงกลายเปน็ อดีตของพ้ืนที่อุตสาหกรรม
ที่เคยคึกคัก เป็นพ้ืนท่ีเศรษฐกิจเมืองท่ีไม่มีการใช้งาน และเป็นพ้ืนท่ีเสื่อมโทรมของเมืองในท่ีสุด ในโลกตะวันตก
การพัฒนาและฟ้ืนฟูพื้นที่ริมน้าเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในช่วงทศวรรษ 1970 ต้ังแต่เมืองลอนดอนของอังกฤษ
เมอื งซิดนียใ์ นออสเตรเลยี และอีกหลายเมอื งในสหรฐั อเมริกา

93
พนื ท่ีรมิ น้าในศตวรรษที่ 20 องค์ประกอบทสี่ า้ คญั ของเมือง

พ้ืนที่ริมน้า (Waterfront) หรือพื้นที่เมืองริมน้า (Urban Waterfront) เป็นชื่อท่ีมีความหมายครอบคลุม
พนื้ ที่หลายแบบ เช่น ส่วนของพื้นท่ีเมืองท่ีอยู่ใกล้ชิดกับน้า ทะเลสาบ หรืออ่าว พ้ืนท่ีเมืองท่ีเช่ือมต่อโดยตรงกับน้า
พ้ืนท่ีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาเมืองกับน้า และยังมีช่ือเรียกภาษาอังกฤษอีกหลายชื่อ ได้แก่ Harbor Front,
City Port, Riverfront, Riverside เปน็ ต้น การรับรูค้ วามหมายของพืน้ ทีร่ มิ น้าของประชากรเมือง

นอกจากด้านประโยชน์ใช้สอยแล้ว ยังมีความสัมพันธ์ทางธรรมชาติและสังคมท่ียึดโยงกับธรรมชาติของ
มนุษย์ เพราะผืนน้าธรรมชาติที่มองเห็นจากพื้นที่ริมน้าเป็นสิ่งเดียวท่ีคงความเป็นธรรมชาตินอกเหนือจากสิ่ง
โดยรอบที่มนุษย์สรรค์สร้างขึ้น แม่น้าลาคลองจึงเป็นธรรมชาติที่เช่ือมโยงจิตใจ ความงดงามตามธรรมชาติ และ
สะท้อนความมีตัวตนของมนุษย์เมืองได้เป็นอย่างดี ภูมิทัศน์ท่ีมีน้าเป็นองค์ประกอบจึงเป็นสิ่งที่มนุษย์โหยหา มี
อิทธิพลตอ่ การกล่อมเกลาจิตใจ และทาให้รู้สกึ ผอ่ นคลาย

พืนท่ีริมนา้ กับศกั ยภาพทางเศรษฐกิจ
ชว่ งปลายทศวรรษ 1950 เมืองบัลติมอร์ มลรัฐแมร่ีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ได้วางแผนการฟื้นฟูดาวน์ทาวน์

โดยครอบคลุมพื้นท่ี 240 เอเคอร์โดยรอบ Inner Harbor ของเมืองด้วย แผนการฟื้นฟูได้ดาเนินการมาอย่าง
ต่อเน่ืองอีก 20 ปี ถือเป็นต้นแบบการพัฒนาพ้ืนที่ริมน้าที่มีบทบาทในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของเมืองท่ีซบเซา พื้นที่
Inner Harbor กลายเปน็ สญั ลกั ษณ์ของเมืองบัลติมอร์ และส่งผลกระทบเชิงบวกกับเศรษฐกิจเมือง เช่น มีการจ้าง
งานกว่า 21,000 ตาแหน่งในพ้นื ที่ สร้างรายไดก้ ว่า 2.3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี มีนักท่องเท่ียวเดินทางมาเพ่ือ
เย่ียมชมกว่า 14 ล้านคนต่อปี และจ่ายภาษีให้กับเมืองบัลติมอร์และมลรัฐแมรี่แลนด์กว่า 100 ล้านเหรียญ

94

สหรัฐฯ ทาให้รูปแบบการพัฒนาท่ีเกิดขึ้นกับเมืองบัลติมอร์กลายเป็นโมเดลท่ีถูกนาไปใช้กับหลายเมืองใน
สหรฐั อเมริกาและเป็นท่ียอมรับในระดับโลก กระแสการพัฒนาพ้ืนที่ริมน้ายังเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องในหลายประเทศ
ท่ีซิดนีย์ ออสเตรเลีย มีการพัฒนา Darling Harbor ให้เป็นพ้ืนที่ศูนย์กลางการท่องเที่ยว ฮ่องกงและสิงคโปร์
มองเห็นศักยภาพของพื้นท่ีริมน้าที่นาไปสู่การถมทะเลเพื่อสร้างพ้ืนท่ีริมน้าและสร้างศูนย์กลางใหม่ของเมือง การ
พัฒนาพ้ืนท่ีริมน้าเพ่ือเป็นสถานที่และจุดหมายปลายทางของคนทุกกลุ่มยังเป็นสิ่งท่ีตอบโจทย์ทั้งกลุ่มผู้ลงทุนและ
ตอบสนองความต้องการของชุมชนและประชากรเมือง บทบาทของพื้นที่ริมน้าจึงมีความสาคัญในมิติท่ีกว้างกว่า
บรบิ ทของเมอื ง แตเ่ ป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ใหม่ของประเทศบนพ้ืนที่ประวัติศาสตร์เพ่ือการรับรู้และการแข่งขันใน
เวทีโลก นอกจากนั้น บทบาทของพื้นท่ีริมน้าท่ีมีต่อเมืองและวิถีชีวิตของประชากรเมืองมีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา การมีพื้นที่ริมน้าในเมืองนับเป็นสินทรัพย์ของเมืองที่รอการสร้างสรรค์มูลค่า การไม่มีแผนการพัฒนา
พืน้ ที่ริมน้าทเี่ ปน็ ระบบจะทาให้เมืองเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ สูญเสียความสมดุลทางสังคม และทาให้เมืองสูญเสีย
ศักยภาพในการแขง่ ขนั ในท่สี ุด บทบาทใหม่ของพื้นที่ริมน้าในทศวรรษหน้าคือการเป็นพื้นท่ีป้องกันอุทกภัยและภัย
พิบัติทางธรรมชาติ เนื่องจากเมืองที่ตั้งอยู่ริมน้าส่วนใหญ่จะมีสถานะเป็นเมืองชายฝ่ัง (Coastal Cities) จากการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมผี ลทาให้น้าทะเลขึ้นสงู และเกิดคลืน่ พายหุ มุนยกซัดฝั่งท่ีรุนแรง (Storm Surge) กว่า
ในอดีต แม่น้าลาคลองจึงต้องทาหน้าที่รับน้าและระบายน้าออกจากเมืองในปริมาณท่ีมากกว่าปกติอย่างหลีกเลี่ยง
ไมไ่ ด้ พนื้ ทร่ี มิ น้าและพน้ื ท่ศี นู ย์กลางทางเศรษฐกิจจึงกลายเปน็ พื้นทที่ ีม่ ีความเสี่ยงสูง การพัฒนาและออกแบบพื้นท่ี
ริมน้าเพื่ออนาคตจาเป็นต้องคานึงถึงความยืดหยุ่น (Resilient) และความสามารถในการปรับตัว (Adaptability)
ของพื้นท่ี การพัฒนาพ้ืนท่ีริมน้าในอนาคตจึงเป็นความท้าทายของการพัฒนาเมืองที่ต้องนาเสนอรูปแบบการใช้
พนื้ ทีท่ ่ีมีความสมดลุ ท้ังการเปน็ พ้ืนทที่ างเศรษฐกจิ พ้นื ทีเ่ พื่อการมีปฏิสัมพันธ์ของประชากรเมือง และพื้นท่ีเพ่ือการ
ป้องกันภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ

ดังน้ัน จะเห็นได้ว่ารัฐสาหรับประเทศที่พัฒนาแล้วเห็นว่าการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวริมน้าสามารถสร้าง
รายได้ในการพัฒนาประเทศ โดยระดับการแข่งขันระดับโลกอาจมีระดับที่สูงขึ้นเม่ือประทศหันมาเจรจาความ
ร่วมมือในกลุ่ม โดยการร่วมมือในระดับภูมิภาคอาจสามารถยกระดับการแข่งขันในระดับโลกได้ และสามารถ
พจิ ารณาถงึ การรว่ มทนุ เพอื่ พฒั นาการแขง่ ขันในตลาดการทอ่ งเท่ยี วทางน้าของโลก

95

1.5 ปัจจัยทางเศรษฐกจิ ในระดับภูมภิ าคลุ่มน้าโขง

ภมู ิภาคลุ่มน้าโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) ประกอบไปดว้ ยประเทศกัมพชู า จีน (มณฑลยูน
นานและมณฑลกวางสี ลาว เมียนมา ไทย และเวียดนาม ผลงานที่สาคัญของท่องเท่ียว คือ การลดระดับความ
ยากจน การพัฒนาท่ีย่ังยืนและครอบคลุมถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากนั้น ยังมีความร่วมมือด้านการ
ท่องเท่ียวในภูมิภาค และยังได้รับการสนับสนุนโครงการความร่วมมือต้ังแต่เร่ิมก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2535 (GMS
Economic Cooperation) เช่น จากธนาคารเพ่ือการพัฒนาเอเชีย (ADB) ในฐานะที่เป็นผู้นาในการพัฒนา GMS
ได้ให้การสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เช่น โครงการทุนและเงินกู้ รวมท้ังการ
ท่องเที่ยวของแม่น้าโขง อันได้แก่ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน และล่าสุดคือโครงสร้างพื้นฐานการ
ทอ่ งเท่ียวสาหรับโครงการขยายการเตบิ โตแบบภูมภิ าค โครงการเหลา่ น้ีได้ปล่อยกู้ถึงหมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐเพ่ือใช้
ในการลงทุนด้านผลิตภัณฑ์และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาขีดความสามารถ และการตลาดการ
ทอ่ งเทีย่ ว นอกจากนี้ ADB ยงั ให้การสนับสนนุ เชงิ สถาบันแก่ MTC ซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นเลขาธิการของ GMS Tourism
Working Group (TWG) โดยประสานงานการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาและการจัดการความรู้ รวมไปถึงการ
สนับสนุนประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงเพ่ือร่วมกันส่งเสริมแม่น้าโขงเป็นปลายทางการท่องเที่ยว เช่น การให้
ความชว่ ยเหลอื ด้านเทคนคิ ในการพัฒนายทุ ธศาสตรข์ อง ADB

96

1.6 แนวคดิ เชงิ ยทุ ธศาสตร์โดยภาพรวมส้าหรบั การพัฒนา

ถ้าพิจารณาในด้านนโยบายแล้ว จะเห็นได้ว่าการท่องเที่ยวในรูปแบบล่องเรือในแม่น้าและมหาสมุทร
จาเป็นต้องมีหลายประเทศเข้าถึง GMS เพื่อที่จะสร้างกาหนดการเดินทางทั่วท้ังภูมิภาค ซึ่งแนวทางกลยุทธ์ที่จะ
นามาสคู่ วามสาเรจ็ จาเป็นต้องพจิ ารณาจากหลกั การดงั ตอ่ ไปนี้

1. หลักการด้านนโยบาย กล่าวคือ จะต้องมีการกาหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการเข้าถึงระบบวีซ่าและการ
ประสานงานด้านคนเข้าเมืองให้มากขึ้น นอกจากนี้ การท่องเท่ียวล่องเรือในลุ่มแม่น้าโขงจะขึ้นอยู่กับนโยบายเพ่ือ
ปรับปรงุ โครงสร้างพ้นื ฐานและแนวทางในการตรวจสอบประโยชนข์ องการท่องเทีย่ วล่องเรือไปถงึ แหล่งชมุ ชนด้วย

2. ความรว่ มมือระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน กล่าวคือ ถ้าพิจารณาจาก GMS จะเห็นได้ว่า แม่น้าและ
มหาสมุทรเป็นส่วนสาคัญของชีวิตและอาจมองเป็นวิถีชีวิตของชุมชน และยังเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมใน
ภูมิภาคน้ี การท่องเที่ยวล่องเรือบนแม่น้าและมหาสมุทรเหล่าน้ีมีศักยภาพในการเช่ือมต่อการเดินทางไปใช้ชีวิตใน
ท้องถ่ินและการอัดฉีดเม็ดเม็ดเงินลงไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ด้วย ดังน้ัน เพ่ือให้บรรลุถึงศักยภาพตามหลักการ ประเทศ
ต่าง ๆ ใน GMS จะต้องทางานร่วมกันและร่วมมือกันกับภาคเอกชนตามความเหมาะสมเพ่ืออานวยความสะดวก
เช่น การข้ามพรมแดนเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวในวงกว้าง การสร้างความหลากหลายของ
เส้นทางการทอ่ งเท่ยี วล่องเรือในภูมิภาค และส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือ รวมทั้งวิธีการขนส่ง และประสบการณ์
ดา้ นวฒั นธรรมท่หี ลากหลายใน GMS

3. การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวทางน้า หรือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product
Development) โดยเฉพาะการท่องเท่ียวล่องเรือในแม่น้าและมหาสมุทรซ่ึงสะท้อนถึงประสบการณ์ต่าง ๆ ในการ
เดินทางในหลายประเทศในภูมิภาคนี้ และสามารถใช้เป็นเครอ่ื งมือในการสง่ เสริมและพัฒนา GMS ซ่ึงเป็นจุดหมาย
ปลายทางของการท่องเท่ียว นอกจากแม่น้าโขงแล้ว ยังมีแม่น้าสายใหญ่ ๆ อีกหลายสายท่ีสามารถพัฒนาและ
สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วล่องเรอื ได้ เชน่ แม่น้าอริ วดี แมน่ ้าเจา้ พระยา และแม่น้าแดง เป็นต้น สถานที่ท่องเท่ียวสาคัญ
ในภูมิภาคนี้ เช่น การไปเยือนสามเหล่ียมปากแม่น้าโขง (Mekong Delta) อ่าวฮาลอง และแม่น้าเจ้าพระยา เป็น
ต้น นอกจากน้ี การท่องเท่ียวล่องเรือข้ามหลายประเทศในภูมิภาคน้ียังถือเป็นประสบการณ์แปลกใหม่ท่ีน่า
ประทับใจ และยังเปน็ ตัวกระตนุ้ สาคัญสาหรับผลิตภณั ฑ์การทอ่ งเท่ียวของ GMS อกี ด้วย

4. การส่งเสริมและการวางจุดยืนผ่านการท่องเที่ยวเรือสาราญ ผู้ร่วมทุนยังสามารถสร้างตลาดการ
เดนิ ทาง เช่น จุดหมายปลายทาง ในขณะที่บริษัทเรือสาราญ และท่าเรือควรส่งเสริมแบรนด์ GMS “แม่โขง” ส่วน
ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ ะ ต้ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม ภู มิ ภ า ค โ ด ย ส ร้ า ง เ ส้ น ท า ง ที่ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ท รั พ ย า ก ร ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องภูมภิ าค

97

ตารางที่ 3.4 จ้านวนนกั ทอ่ งเท่ยี วท่ีเดนิ ทางมายังภูมิภาคแมโ่ ขง ตังแตป่ ี ค.ศ. 2010-2014

ท่ีมา: UNWTO หน้า 21 (อ้างจาก National Tourism Organizations. Mekong Tourism Coordinating
Office.)

ถ้าพจิ ารณาจากตารางที่ 3.4 จะเหน็ ถึงจานวนนกั ท่องเที่ยวทีเ่ ดนิ ทางเข้ามาใช้บริการในภูมิภาค GMS โดย
จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีอัตราของจานวนนักท่องเท่ียวท่ีสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ค.ศ. 2010-2014 มีอัตรา
เพ่ิมขน้ึ ถึงรอ้ ยละ 35.69 ซึง่ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ประเทศอ่ืนในภูมภิ าคในเรอ่ื งของจานวนนักท่องเท่ียว ถือว่ามีระดับ
การแข่งขันที่อยู่ในระดับที่สูงท่ีสุด อย่างไรก็ตาม จานวนนักท่องเท่ียวต่างประเทศที่เติบโตเร็วท่ีสุด คือเมียนมา
เนอื่ งจากผลของการปฏริ ปู ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ อยา่ งกวา้ งขวาง ซึง่ เริม่ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011)

98

ตารางท่ี 3.5 จ้านวนนักท่องเทีย่ วทเ่ี ดินทางมายงั ภูมิภาคแม่โขง ในปี ค.ศ. 2014 (คน)

ทีม่ า: UNWTO หนา้ 22 (อ้างจาก National Tourism Organizations.)
จากตารางท่ี 3.5 จะเห็นได้ว่า 44.4 ล้านคนในต่างประเทศเดินทางไปยัง GMS ในปี ค.ศ. 2014 ความ

ตอ้ งการเดนิ ทางมาจากแหลง่ ท่ีสาคญั เชน่ ตลาดในเอเชียที่นาโดยจีน (7.679 ล้านคน) มาเลเซีย (3.731 ล้านคน)
ไทย (3.311 ล้านคน) เกาหลีใต้ (3.155 ล้านคน) เวียดนาม (2.571 ล้านคน) ญ่ีปุ่น (2.428 ล้านคน) และรัสเซีย
(2.136 ล้านคน) โดยในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) นักท่องเที่ยวจีนมีสัดส่วนมากท่ีสุดเป็นอันดับ 1 ในประเทศ
เวยี ดนาม และไทย รองลงมาคือ นักทอ่ งเทยี่ วจนี มสี ดั ส่วนมากเป็นอนั ดับสองในประเทศกัมพูชา และเมียนมา และ
นกั ทอ่ งเที่ยวจนี มสี ดั ส่วนมากเป็นอันดับสามในประเทศลาว สาหรบั ประเทศไทยถอื เป็นตลาดต้นทางของลาว เมียน
มา และยูนนานของจีน สาหรับในประเทศกัมพูชา นักท่องเที่ยวจากเวียดนามถือเป็นส่วนแบ่งท่ีใหญ่ที่สุดของ
นกั ทอ่ งเที่ยวต่างชาติที่ไปทอ่ งเทีย่ วยังกมั พชู า และถา้ พจิ ารณาจากตลาดยุโรปจะพบว่า ประกอบด้วยประมาณร้อย
ละ 17 ของนักท่องเท่ียวระหว่างประเทศในปี ค.ศ. 2014 ซ่ึงลดลงจากร้อยละ 20 ในปี ค.ศ. 2004 ในขณะท่ี
นักท่องเท่ียวท่ีมาจากสหรัฐอเมริกาลดลงต่ากว่าร้อยละ 5 ในปี ค.ศ. 2014 จากระดับเกือบร้อยละ 8 ในทศวรรษ
กอ่ นหน้าน้ี

99
อย่างไรกต็ าม ภูมิภาค GMS ได้มีการพัฒนาการเข้าถึงทางอากาศและทางบกท่ีดีขึ้น เช่น ในช่วงหลายปีที่
ผ่านมา การสร้างทางหลวงข้ามชาติเชื่อมโยงเมืองท่ีใหญ่ที่สุดและมีสะพานข้ามแม่น้าโขงเชื่อมสถานท่ีเชิง
ยทุ ธศาสตร์ในภาคเหนือ-ใต,้ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก, และศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ นอกจากนั้น มีการสร้างท่าอากาศ
ยานนานาชาติ 32 แห่ง ในปี ค.ศ. 2014 โดยมีเที่ยวบินขาเข้าระหว่างประเทศจานวน 276,524 เท่ียว โดยมีท่ีนั่ง
รวมถึง 56.20 ล้านท่ีน่ัง นอกจากน้ัน ยังมีข้อตกลงซึ่งจะช่วยเพิ่มการลงทุน การบริการให้คาปรึกษาด้านการ
ท่องเท่ียวระหว่างประเทศ และการเดินทางโดยยานพาหนะส่วนบุคคลข้ามพรมแดน

กรอบระยะเวลาในการด้าเนินการเชิงกลยุทธ์ใหเ้ กิดความส้าเรจ็ โดยรฐั บาลเปน็ ผู้ดา้ เนนิ การ
ถ้าพิจารณาจากแผนปฏิบัติการ ปี ค.ศ. 2015-2020 จะเห็นได้ว่ายังเป็นแค่แผนปฏิบัติการท่ีเกิดข้ึนขาด

ความชัดเจน อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์ประกอบด้วยกิจกรรม 50 ประเภทซ่ึงจัดอยู่ในกลุ่ม 12 กลุ่มกิจกรรม
แผนปฏบิ ัติการทค่ี รอบคลมุ ต้งั แต่ปี ค.ศ. 2015-2020 กรอบระยะเวลายังเป็นแค่แผนซ่ึงยังประสบปัญหาต่าง ๆ ใน
การนาแผนไปปฏบิ ัตใิ ห้เกิดขึ้นไดจ้ รงิ เน่ืองจากขาดการประสานงานอย่างจรงิ จัง

100

ปัจจยั ความส้าเรจ็ เพอื่ พัฒนาแหลง่ ทอ่ งเท่ียว

กลยุทธ์ที่จะประสบความสาเร็จในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS ขึ้นอยู่กับความร่วมมือที่สะท้อนถึง
ประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค ระดับชาติ จังหวัดและเทศบาล และความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ
สาหรบั แนวทางการเปน็ หุ้นสว่ นควรรวมถงึ การเป็นตวั แทนจากองค์กรตอ่ ไปน้ี

(1) UNWTO กล่าวคือ เป็นผู้ริเริ่มและเป็นผู้นา เป็นองค์การระหว่างประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาการ
ทอ่ งเท่ยี วบนแม่น้าโขง UNWTO ควรสรา้ งความน่าเช่ือถือสาหรับแผนการท่ีจะพัฒนาต่อไป เช่น การท่องเท่ียวบน
แม่น้าโขง, การประสานงานกับ GMS และ NTOs (National tourism organizations) จาก 5 ประเทศ เพื่อ
ปฏิบัติตามแผนการ, การช่วย GMS และ NTOs ในการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้ใน กลยุทธ์, การช่วย GMS และ
NTOs ในการระดมทุนจากภาคเอกชนและคู่ค้าด้านการพัฒนาเพ่ือตอบสนองความต้องการของโครงสร้างพื้นฐาน
และความตอ้ งการในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ รวมไปถงึ ผลติ และเผยแพร่ผลติ ภัณฑ์ความรู้ทางการทอ่ งเท่ยี ว

(2) ความสาคัญของสานักงานเลขาธิการอาเซียน กล่าวคือ คณะทางานด้านการท่องเที่ยวท่ีมีบทบาท
สาคัญอย่างยิ่ง ในการพัฒนาแนวคิดเรื่อง การท่องเที่ยวเรือสาราญและการท่องเท่ียวตามแม่น้า ซ่ึงมีความ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การทอ่ งเที่ยวอาเซยี นในแผนปี ค.ศ. 2016-2025 ซึ่งระบุเก่ียวกบั การท่องเท่ียวเรือสาราญ
ในแม่น้ากับการพัฒนาผลิตภัณฑ์สาหรับภูมิภาคอาเซียน โดยสานักงานเลขาธิการอาเซียนมีหน้าท่ีดังนี้ (1) การ
สร้างคุณลักษณะของการพัฒนาการท่องเท่ียวตามแม่น้าเป็นหลัก (2) การวางแผนในอนาคตผ่านการประสานงาน
ระหว่าง GMS และ NTOs เพื่อทาหน้าท่ีเป็นแหล่งข้อมูล (3) การพัฒนาการท่องเที่ยวตามกลยุทธ์เพ่ือนาเสนอใน
การประชุมคณะทางานด้านการท่องเที่ยว (4) ช่วย GMS และ NTOs ในการจัดกิจกรรมตามที่กาหนดภายใต้กล
ยุทธ์ (5) ช่วย GMS และNTOs ในการระดมทุนจากภาคเอกชนและคู่ค้าด้านการพัฒนาเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของโครงสร้างพื้นฐาน และความต้องการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ (6) ผลิต เผยแพร่ และ
ประชาสมั พันธ์การท่องเท่ียว รวมไปถึงผลติ ภัณฑ์ความรู้ด้านการท่องเทย่ี วต่าง ๆ

(3) สานักงานประสานงานการทอ่ งเที่ยวแม่โขง (The Mekong Tourism Coordinating Office; MTCO)
เป็นหน่วยงานระดับภูมิภาคท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานประสานงานเพื่อการดาเนินการการตลาดของแม่โขง
และยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการซ่ึงมุ่งเน้นด้านจุดหมายปลายทางตามแนวแม่น้าโขงเป็นจุดสาคัญ น่ันคือ
MTCO มีส่วนร่วมและรับรองแผนพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า โดย MTCO มีหน้าที่ดังนี้ (1) ช่วยรวมกิจกรรม
ล่องเรือแม่น้าและกิจกรรมการท่องเที่ยวตามแม่น้าในส่วนใหม่ตาม www.mekongtourism.org (2) สร้าง
อุตสาหกรรมและการรับรู้ของผู้บริโภคของแม่น้าตามการท่องเท่ียวบนแม่น้าโขง (3) รวมหัวข้อการท่องเท่ียวตาม
แม่น้าโขงในเวทีการท่องเท่ียวลุ่มน้าโขงและนาเสนอกลยุทธ์น้ีในการประชุมกลุ่มงานด้านการท่องเท่ียว (4) ช่วย

101

GMS และ NTOs ในการจัดระเบียบและทาความคุ้นเคยกับทัวร์ในจุดหมายปลายทางของแม่น้าโขง และ (5) ช่วย
GMS NTOs ระดมทุนจากภาคเอกชนและค่คู า้ ในดา้ นการพัฒนา

(4) องค์การการท่องเที่ยวแห่งชาติของ GMS ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบด้านการ
ท่องเท่ียวในแต่ละประเทศ GMS และ NTOs จะมีบทบาทสาคัญอย่างหนึ่งคือ การอานวยความสะดวกในการ
ดาเนนิ การของการทอ่ งเที่ยวตามแผนพัฒนาแห่งชาติในระดับชาติ จังหวัดและเทศบาล เช่น (1) GMS และ NTOs
สื่อสารความตอ้ งการเชงิ ยทุ ธศาสตร์การทอ่ งเที่ยวใหแ้ ก่หน่วยงานรฐั บาลและสมาคมอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว (2)
อานวยความสะดวกในการทางานร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน (3) วางแผนทรัพยากรทางการเงินและ
บุคลากรเพื่อใช้กลยุทธ์ และ (4) จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับเทศบาลเก่ียวกับ
หวั ข้อของแม่น้าที่ใชใ้ นการพัฒนาการท่องเท่ยี ว

(5) ผ้ปู ระกอบการภาคเอกชนและนกั ลงทุนมคี วามสาคัญสาหรบั ความสาเร็จของกลยุทธ์การท่องเท่ียวทาง
น้า ในปัจจุบันมีผู้ประกอบการการท่องเท่ียวจานวนมาก, บริษัทเรือ, ผู้ให้บริการด้านที่พักอาศัย ซึ่งผู้ประกอบการ
ภาคเอกชนและนกั ลงทุนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามแม่น้าโขง นอกจากน้ี ยังมีโอกาสในการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ จากภาคเอกชน เช่น (1) การส่งเสริมการท่องเท่ียวผ่านแม่น้าโขง ช่องทางการตลาดและส่งเสริมการ
ขาย (2) ร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียวใหม่ ๆ ในลุ่มแม่น้าโขง (3) วางแผนทรัพยากรทางการเงิน
และบคุ ลากรเพอื่ ใชเ้ ป็นกลยทุ ธ์ และ (4) แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเป็นมืออาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน
การบรหิ ารจัดการโดยเฉพาะอย่างยง่ิ การดาเนนิ งานและการบารงุ รักษา

(6) คณะกรรมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River Commission) เป็นสถาบันรับผิดชอบในการส่งเสริมให้
เกิดความย่ังยืนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนของแม่น้าโขง โดยการท่องเท่ียวถูกระบุว่าเป็น
จุดสาคัญของการพัฒนา โดย MRC จะ (1) สนับสนุนและร่วมมือในการพัฒนา Mekong Ports and Tourism
Atlas (2) จดั สรรทรพั ยากรทางการเงนิ และบุคลากรเพื่อตอบสนองกลยุทธ์ (3) การพัฒนาการท่องเที่ยวตามแม่น้า
ตามการวางแผนในระยะยาว (4) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าซึ่งจัดโดย UNWTO, อาเซียน,
MTCO หรือ NTOs และ (5) รวมแหล่งข้อมูลการท่องเที่ยวแม่น้าเพื่อเป็นรูปแบบการพัฒนาและรวมถึงการจัด
ประชุมตา่ ง ๆ

(7) การพัฒนาแบบคู่ค้าจะให้ข้อมูลทางเทคนิค และความช่วยเหลือทางการเงินเพื่อสนับสนุนผลิตภัณฑ์
หลายประเทศ การพัฒนา การเสริมสร้างศักยภาพและการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติท่ีดี คู่ค้าด้านการ
พัฒนาจะ (1) ระดมทุนและความช่วยเหลือด้านเทคนิคเพ่ือให้เกิดการดาเนินกลยุทธ์ (2) พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใน
โครงการในอนาคต (3) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าที่จัดโดย UNWTO, อาเซียน, MTCO หรือ
NTOs และ (4) รว่ มประชมุ ท่ีจัดโดยชมุ ชน โดยเฉพาะการประชมุ เพ่อื การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทางน้า

102

หลกั เกณฑใ์ นการเลอื กภายใตก้ ารวิเคราะห์ยุทธศาสตรแ์ ละค่าดัชนีการแข่งขัน

ถ้าพิจารณาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560-2564) จากกรณีศึกษาโครงการแม่
โขงของภูมิภาค จะเห็นได้ว่ามีเป้าหมายท่ีสาคัญท่ีสอดคล้องกับแผนหลักของโครงการการท่องเท่ียวของไทย
โดยเฉพาะประเทศไทยต้องเป็นแหล่งท่องเท่ียวคุณภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่
ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน โดยแผนกลยุทธ์ดังกล่าวสามารถนามาเป็นเหตุและผลของหลักเกณฑ์ในการ
เลือกโครงการแม่โขงเป็นแนวทางในการพัฒนาเชิงบูรณการให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนื่องจาก
ยุทธศาสตร์ภายใต้แผนการท่องเที่ยวไทยมีความสอดคล้องกับดั ชนีการแข่งขันด้านการเดินทางและภาคการ
ท่องเท่ยี วในโครงการแมโ่ ขง โดยสามารถนามาสรปุ ความสอดคลอ้ งได้ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาคณุ ภาพแหล่งท่องเท่ียวสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความสมดุล
และยั่งยืน (ปัจจัยท่ี 1 สภาพแวดล้อมที่เปิดใช้งานซ่ึงจะรวบรวมการตั้งค่าทั่วไปที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงานใน
ประเทศ และมี 4 หมวดสาคัญท่ีสะท้อนถึงกลยุทธ์ในโครงการแม่น้าโขง ได้แก่ (1) สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (2)
ความปลอดภัย (3) สขุ ภาพและสุขอนามยั และ (4) ทรัพยากรบคุ คลและตลาดแรงงาน)

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อรองรับการขยายตัวของการ
ท่องเท่ียว (ปัจจัยท่ี 3 และมี 2 หมวดสาคัญที่สะท้อนถึงกลยุทธ์โครงการแม่น้าโขง ได้แก่ (1) โครงสร้างพ้ืนฐาน
บรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว และ (2) โครงสร้างพ้นื ฐานด้านการขนสง่ ทางบกและทางน้า)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ
พฒั นาการทอ่ งเท่ียว (ไมไ่ ด้ระบุในดชั นีการแขง่ ขัน แต่ได้ระบไุ ว้ในกลยทุ ธข์ องหน่วยงาน)

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเท่ียวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถี
ไทย และการสร้างความเช่อื ม่ันของนักท่องเท่ียว (ปัจจัยที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรมโดย
มี 2 หมวดที่สาคญั ไดแ้ ก่ (1) ทรพั ยากรธรรมชาติ และ (2) ทรัพยากรทางวฒั นธรรมและการเดินทางเพอ่ื ธรุ กิจ)

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การบูรณการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
ประเทศ (ปจั จยั ท่ี 2 นโยบาย T & T และเงื่อนไขเชิงนโยบายหรือยุทธศาสตร์ซ่ึงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม T &
T โดยตรง และมี 2 หมวดท่ีสาคัญ ได้แก่ (1) การให้ความสาคัญกับการเดินทางและการท่องเที่ยว (2) ความยั่งยืน
ด้านสิง่ แวดล้อม)

ดงั นั้น จากตารางที่ 3.6 ถ้าดัชนีการแข่งขันของโครงการแม่น้าโขงมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ไทยใน
ระดบั หนงึ่ แต่ยังขาดการบูรณการภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564) อย่างไรก็
ตาม ภาครัฐในกลุ่มแม่น้าโขงมีความแตกต่างกันมากในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ และยังมีค่าดัชนีการแข่งขั น

103
ทางการท่องเที่ยวและการเดินทางท่ีต่าโดยเฉพาะภาพรวมของค่าดัชนีในกลุ่มท้ังหมด (ขาดข้อมูลของเมียนมาดัง
ตารางข้างล่าง นอกจากน้ัน ระดับการมีส่วนร่วมเชิงนโยบายร่วมกันในระดับภูมิภาคได้ระบุในแผนยุทธศาสตร์แต่
แนวทางของการดาเนินงานอย่างเป็นรปู ธรรมยงั ความชัดเจน
ตารางท่ี 3.6 คา่ ดชั นกี ารแข่งขนั การเดินทางและการท่องเทีย่ วในกล่มุ แม่น้าโขง (ยกเว้นเมียนมา)

ท่มี า: World Economic Forum (2017), หนา้ 23
ดังน้ัน การจัดทาแผนแม่บทพัฒนาการท่องเท่ียวทางน้าจาเป็นต้องมีการระบุแนวทางและยุทธศาสตร์ท่ี

สอดคล้องกับแผนในระดับภูมิภาคให้มากข้ึนและลดระดับการซ้าซ้อนของงานในแต่ละหน่วยงาน โดยต้องตอบ
โจทยท์ ีส่ าคัญ คอื ต้องมีเส้นทางของแหล่งท่องเที่ยวทางน้าร่วมกัน ทั้งในด้านการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานท่ีเป็นจุด
เช่อื มโยงแหล่งท่องเที่ยว และรวมถึงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้าร่วมกัน นอกจากนั้น กลยุทธ์จะต้องสะท้อน
จากแผนแม่บทในระดับภูมิภาคที่จะต้องมุ่งเน้นผลลัพธ์ และความร่วมมือในระดับภูมิภาคเพื่อสร้างแนวทางเชิง
ประสิทธิภาพร่วมกันให้มากขึ้น เช่น นโยบายการให้คาปรึกษา การจัดการเงินทุนตามปัจจัยทางเศรษฐกิจ และ
ระยะทางของเสน้ ทางท่นี ามาซง่ึ รายได้ของภาครฐั และภาคเอกชน การจัดตั้ง National Contact Point (NCP) for
the Implementation โดยกุญแจสู่ความสาเร็จคือความมุ่งม่ันของหน่วยงานและการดาเนินนโยบายให้เกิดความ
เป็นธรรม พร้อม ๆ กับการคานึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย นอกจากนั้น ยังพบอุปสรรคในด้านการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศและสภาพมลพิษ และมาตรฐานความปลอดภัยและการบงั คับใช้ทีล่ ้มเหลวอีกด้วย

104

ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทย
การท่องเที่ยวริมฝ่ังแม่น้าและทะเลในประเทศไทยมีความสาคัญอย่างมากสาหรับการท่องเที่ยวทางน้าใน

ประเทศไทย โดยเฉพาะปัจจัยทางเศรษฐกิจ ที่ข้ึนอยู่กับด้านอุปทานและด้านอุปสงค์ ในด้านอุปทานจะข้ึนอยู่กับ
จานวนท่าเรือ จานวนเรือ จานวนแหล่งทางเที่ยวในจังหวัด ส่วนในด้านอุปสงค์จะขึ้นอยู่กับจานวนผู้โดยสารทั้ง
ภายในประเทศและระหว่างประเทศ ภาครัฐจะตอ้ งพจิ ารณาความสอดคล้องระหว่างด้านอุปทานและอุปสงค์ จาก
ตารางท่ี 3.7 จะเหน็ ไดว้ ่าจานวนผูโ้ ดยสารท่องเทย่ี วรมิ ทะเลมีอตั ราท่ีสูงกว่า 1 เท่าเม่ือเทียบกับผู้โดยสารท่องเที่ยว
ริมแม่น้า แต่จานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้ามีอัตราที่สูงกว่าจานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเล ซ่ึงแสดงถึงนักท่องเที่ยวที่
สนใจการท่องเที่ยวริมฝ่ังแม่น้าของไทย และยังมีโอกาสในการขยายการท่องเที่ยวบริเวณแม่น้าเพื่อสร้างรายได้
อย่างต่อเน่อื ง
ตารางท่ี 3.7 ขอ้ สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เรือโดยสารและทอ่ งเท่ียว

ทม่ี า: รายงานประจาปงี บประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิตทิ เ่ี ก่ียวขอ้ งกับการขนสง่ สินคา้ และผู้โดยสารทางนา้ )
นอกจากนั้น จากตารางที่ 3.7 แสดงถึง เรือโดยสาร/ท่องเที่ยวดาเนินการมาตั้งแต่ปี 2549 จังหวัดท่ีมี

ท่าเรือโดยสาร/ท่องเท่ียวท่ัวประเทศ มีจานวน 46 จังหวัด เป็นจังหวัดท่ีมีท่าเรือต้ังอยู่บริเวณแม่นา 28 จังหวัด
(รอ้ ยละ 60.87) และท่าเรอื ท่ตี ั้งอยูบ่ ริเวณชายฝ่ังทะเล 18 จงั หวัด (รอ้ ยละ 39.13) เรือโดยสารท่ใี ห้บริการแบ่งเป็น
3 ขนาด ได้แก่ เรือขนาดเล็กคือเรือหางยาว เรือสปีดโบ๊ท บรรทุกนักท่องเที่ยวไม่เกิน 50 คน/เที่ยว เรือขนาดใหญ่
คือ เรือที่บรรทุกนักท่องเที่ยวได้ตั้งแต่ 51 คน/เท่ียวข้ึนไป และแพขนานยนต์ คือ เรือบรรทุกคนโดยสาร รถยนต์
หรอื สิ่งของขา้ มฟาก เมอื่ พิจารณาจานวนผู้โดยสารใช้บริการเรือโดยสาร/ท่องเท่ียว แยกเป็นบริเวณทะเลมากที่สุด
คือ จังหวัดภูเก็ตจานวน 6,204,266 คน ร้อยละ 21.47 ซึ่งผู้โดยสาร ในกลุ่มดังกล่าวใช้เส้นทางท่าเรือรัษฎา ร้อย
ละ 29.04 ของผู้ใช้บริการเรือท่องเท่ียว/โดยสารทั้งหมดของจังหวัดภูเก็ต ส่วนบริเวณแม่นาใช้บริการท่ีจังหวัด
กรุงเทพมหานครมากที่สุด ร้อยละ32.11 ซ่ึงผู้โดยสารในกลุ่มดังกล่าวใช้เส้นทางที่ท่าเรือสาทร จานวน 1,091,280
คน รอ้ ยละ 27.41 ของผู้ใชบ้ รกิ ารเรือทอ่ งเที่ยว/โดยสารทั้งหมดของกรงุ เทพมหานคร

105
ภาพที่ 3.4 แนวโน้มการเพิม่ ขนึ และลดลงของจ้านวนเท่ียวเรอื และจ้านวนผู้โดยสารบริเวณทะเล ตังแตป่ ี พ.ศ.
2549-2558

ท่มี า: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ข้อมูลสถิตทิ เี่ ก่ียวขอ้ งกบั การขนสง่ สินคา้ และผ้โู ดยสารทางนา้ )
ภาพท่ี 3.4 แสดงถึงแนวโน้มการเพ่ิมข้ึนและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเลและผู้โดยสาร

ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 โดยแนวโน้มมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2556-2558 (จาก
จานวนเท่ียวเรือบริเวณทะเล จานวน 460,019-666,977และผู้โดยสาร จานวน 20,311,754- 28,893,417)

106

เน่ืองจากภาคการเที่ยวได้มีการขยับตัวจากปัจจัยทางเศรษฐกิจท่ีดีข้ึนท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ และ
รวมถึงการทาการตลาด และราคาที่สะทอ้ นถงึ การแขง่ ขนั ในระดับท่ีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ถ้าพิจารณา
จากแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้าของไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2558 จะเห็นได้
วา่ แนวโน้มของจานวนเท่ียวเรอื มีระดับท่ีเพิม่ ข้นึ เช่นกัน

107
ภาพที่ 3.5 แนวโนม้ การเพมิ่ ขนึ และลดลงของจ้านวนผู้โดยสารและจ้านวนเรอื บรเิ วณแมน่ า้ ของไทย ตังแตป่ ี
พ.ศ. 2549-2558

ที่มา: รายงานประจาปงี บประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิติท่ีเกี่ยวข้องกบั การขนส่งสนิ ค้าและผู้โดยสารทางน้า)
ภาพท่ี 3.5 แสดงถึงแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นและลดลงของจานวนเท่ียวเรือบริเวณแม่น้าและผู้โดยสาร ต้ังแต่ปี

พ.ศ. 2549-2558 โดยแนวโนม้ มีการเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2556-2558 (จากจานวนเท่ียว
เรือบริเวณทะเล จานวน 982,954-1,067,646 และผู้โดยสาร จานวน 12,258,786-12,396,078) เนื่องจากภาค
การเท่ยี วได้มกี ารขยับตัวจากปัจจัยทางเศรษฐกิจท่ีดีขึ้นท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ และรวมถึงการทา

108

การตลาด และราคาที่สะท้อนถึงการแข่งขันในระดับท่ีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง แต่อัตราการเติบโตของการท่องเที่ยว
บริเวณแมย่ ้ายังมีระดบั ที่ต่ากวา่ การท่องเทยี่ วทางทะเล

นอกจากนนั้ จากตารางท่ี 3.8 ถ้าพิจารณาจากข้อมูลสถิติของการท่องเที่ยวเลียบฝั่งแม่น้าเจ้าพระยา กลุ่ม
สถิติวิเคราะห์ สานักแผนงาน กรมเจ้าท่า ทาการสารวจในช่วงเปิดภาคเรียนระหว่างวันเสาร์ที่ 23 – วันศุกร์ที่ 29
มกราคม 2559 และช่วงปิดภาคเรียนวันเสาร์ท่ี 19 – วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2559 ท่าเทียบเรือที่จอดรับ – ส่ง
ผู้โดยสาร ปี 2559 มีจานวนท่าเรือท่ีใช้งานทั้งหมด 40 ท่า สรุปจานวนผู้โดยสารและจานวนเท่ียวเรือประจาปี
2559 ไดด้ ังน้ี โดยแนวโน้มทีจ่ านวนผู้โดยสารมรี ะดับท่ีสงู ถึง 13,632,247 คน
ตารางที่ 3.8 จ้านวนผโู้ ดยสารและจ้านวนเทีย่ วเรอื ปี พ.ศ. 5559

ทีม่ า: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ข้อมลู สถิตทิ เี่ ก่ียวข้องกบั การขนส่งสินค้าและผู้โดยสารทางนา้ )
เรอื คลองแสนแสบในประทศไทย

กลมุ่ สถติ ิวิเคราะหส์ านักแผนงาน กรมเจ้าท่าได้ศึกษาจานวนผู้โดยสารที่ ขึ้น -ลง ตามท่าเทียบในช่วงเวลา
ที่เรอื ให้บรกิ ารเท่ียวแรก ถึงเท่ียวสุดท้าย ซ่ึงในปี 2559 ได้ทาการ สารวจ 2 ครั้งๆ ละ 7 วัน คร้ังแรก ช่วงเปิดภาค
เรียน ระหว่างวนั ท่ี 13 – 19 มกราคม 2559 และครง้ั ท่ี 2 ช่วงปิดภาคเรียน ระหว่างวันท่ี 23 – 29 เมษายน 2559
ตลอดเส้นทางทง้ั หมดจานวน 28 ทา่ ท่าเรือขาล่อง และเรอื ขาขึ้น เพอื่ ทราบจานวนผโู้ ดยสารในแต่ละช่วงเวลาตาม
ท่าเทียบเรือต่างๆ ในวันราชการและวันหยุดราชการ ตลอดจนรายละเอียดของเรือ ท่าเทียบเรือโดยสาร และรถ
โดยสารประจาทางที่ผ่านท่าเทียบเรือ เพื่อ เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย วางแผน และ
แก้ไขปญั หาในการขนส่งทางนา้ ให้สอดคล้องกับการขนส่งทางอ่ืนๆ และเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาสร้าง
ทา่ เทียบเรอื ให้ไดม้ าตรฐาน มีความปลอดภยั ใหก้ บั ประชาชนผ้ใู ช้บรกิ าร

สรปุ ในภาพรวมประจาปี 2559 จานวนเทย่ี วเรอื และจานวนผูโ้ ดยสารเฉลี่ยต่อวันในช่วงเปิดภาคเรียน จะ
มีจานวนมากกว่าช่วงปิดภาคเรยี นทั้งเรอื ขาล่อง และเรือขาขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 พบว่าจานวนเที่ยวเรือ
ในวันราชการ และวันหยุดราชการท้งั เรอื ขาลอ่ ง และเรือขาข้ึนมีจานวนลดลง แต่จานวนผู้โดยสารมีจานวนเพ่ิมข้ึน

109
ทั้งในวันราชการและวันหยุดราชการ และท้ัง เรือขาล่อง และเรือขาขึ้นโดยรายละเอียดแสดงได้ดังตารางท่ี 3.9
โดยแนวโนม้ มีระดบั ตา่ งที่เป็นบวก
ตารางท่ี 3.9 เปรยี บเทียบจ้านวนเทีย่ วเรือ และจา้ นวนผโู้ ดยสารท่ใี ช้บริการเรอื คลองแสนแสบเฉลย่ี ตอ่ วนั ช่วง
เปดิ และปดิ ภาคเรยี น จ้าแนกตามประเภทวนั และทศิ ทางการเดนิ เรือ ปี พ.ศ. 2559

ท่ีมา: รายงานประจาปีงบประมาณ 2559 (ขอ้ มลู สถติ ิท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การขนส่งสินค้าและผโู้ ดยสารทางน้า)
ถ้าพิจารณาจากโครงการภาครัฐในการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงริมฝ่ังแม่น้าน้ันมีจุดประสงค์เพื่ออานวย

ความสะดวกให้กบั ประชาชนท่วั ไป สามารถเข้าถึงแม่นา้ และเป็นทางเลือกในการสัญจรเส้นทางการเชื่อมต่อทางบก
และทางน้าด้วย ระบบทางเดินเท้า ทางจักรยาน และเรือท่ีมีความสะดวกและปลอดภัย การฟ้ืนฟูสิ่งแวดล้อมและ
ทัศนยี ภาพ บริเวณพ้ืนที่ริมฝั่ง โดยการพัฒนาและ ปรับปรุงภูมิทัศน์เขื่อน การเพ่ิมพื้นท่ีป่าชายน้า เพื่อสร้างสมดุล
และรักษาระบบนเิ วศมากข้ึน รวมไปถึงการเพ่ิม ระบบบ้าบัดน้าเสีย ประชาชนได้มีพื้นท่ีสาธารณะ ท่ีรองรับการใช้
ประโยชน์ทางด้านนันทนาการและกิจกรรมท้ังใน ระดับชุมชน ระดับย่าน และระดับเมืองเพิ่มขึ้น เพื่อเช่ือมโยงให้
ประชาชนทั่วไปได้เข้าถึงริมแม่น้าเป็นการสร้างความตระหนักของประชาชนทั่วไปถึงความมีเอกลักษณ์ของวิถีชีวิต
ริมแม่น้าและการ ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมและคงความสวยงามของแม่น้า ประชาชนในบริเวณพื้นที่โครงการ จะ
ไดร้ ับการพัฒนาและฟืน้ ฟใู ห้เกิดการเป็นย่านที่มีการเข้าถึงได้สะดวกข้ึน ส่งผลต่อเศรษฐกิจในชุมชน รวมไปถึงการ
พัฒนาโครงการต่างๆ ในเกี่ยวข้องในด้านชุมชน ได้แก่ การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ สวนสาธารณะ พื้นท่ี
นันทนาการ รวมไปถึงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกท่ีดีข้ึน และรวมถึงการบูรณะ ฟ้ืนฟู และ
พัฒนา ชุมชน แหล่งประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โบราณคดี และ ศาสนสถาน โดยรอบพื้นท่ีริมฝั่งแม่น้า ซึ่งนามาสู่
การเพม่ิ รายได้ของภาครัฐในระยะยาว โดยภาครัฐสามารถพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวแมน่ า้ ได้ดังนี้

110

 พัฒนาเส้นทางเดนิ เรือทอ่ งเที่ยวทางแม่นา้ และเชื่อมต่อเสน้ ทางกับเส้นทางทีม่ ีอยูเ่ พื่อใหก้ ารท่องเท่ยี ว
ทางแมน่ ้ามคี วามครอบคลุมและสะดวกสบาย

 ออกแบบเส้นทางสา้ หรบั การท่องเที่ยวแมน่ ้าโดยระบุจดุ แวะพกั ตามเส้นทางท่องเท่ียวหลกั เชน่ แม่นา้
เจ้าพระยาในภาคกลาง จดั การแสดงรมิ แมน่ า้ และวิถีชีวิตชาวบ้านริมแมน่ า้ อาทิ แม่น้าโขงในภาค
อสี านตอนเหนือ และภาคเหนือ โดยรว่ มมือกับประเทศลาวและประเทศเมียนมา

 พัฒนาคณุ ภาพของบรกิ ารเดินเรอื และโครงสรา้ งทอ่ี า้ นวยความสะดวก เช่น เพิ่มชนิดเรือใหม้ คี วาม
หลากหลาย รวมถึงเรอื ขา้ มคนื ขนาดใหญ่ เพ่ือสนับสนุนการล่องเรือข้ามคืน

 พฒั นา และปรับปรงุ จดุ แวะพักตามเสน้ ทางการท่องเท่ียวแมน่ ้า โดยเน้นใหช้ ุมชนท้องถ่นิ เป็นส่วน
สา้ คญั ของเสน้ ทางท่องเที่ยวทางน้า

 พิจารณาสร้างแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ตามเส้นทางท่องเที่ยวแม่น้า โดยเฉพาะเส้นทางในกรุงเทพฯ
และใกล้กรุงเทพฯ

2. ผลการศึกษาและประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ทงั ปัจจัย
ทางเศรษฐกิจ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม ทงั ภายในประเทศ ระดับภมู ิภาคและระดบั โลก ทคี่ าดว่าจะ
กระทบต่อการทอ่ งเท่ยี วของไทยทางนา้ ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564: กรณปี จั จัยทางสงั คม

ปัจจัยทางสังคมในบริบทของการท่องเท่ียวของงานวิจัยชิ้นนี้ จะเน้นปัจจัยทางชุมชนเป็นหลัก เน่ืองจาก
กรณีศึกษาต่าง ๆ เช่น โครงการแมโ่ ขงในภูมิภาค โครงการแม่น้าดานูบของสหภาพยุโรป โครงการเกาะในประเทศ
แคนาดา และโครงการท่องเท่ียวเรือสาราญของประเทศออสเตรเลีย เป็นต้น ปัจจัยทางชุมชนเป็นปัจจัยหน่ึงที่
ส่งผลประสบความสาเร็จในการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวทางน้า หรืออีกนัยหน่ึงก็คือ ชุมชนมีความสาคัญอย่างมาก
กับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้า ด้วยเหตุน้ี การสร้างความเข้าใจแนวคิดและความหมายของชุมชนจึงมี
ความสาคัญ เพื่อนามาวิเคราะห์ผลกระทบท่ีส่งผลต่อภายในประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก ผลกระทบท่ี
เกิดข้ึนดังกล่าวสามารถนาไปอธิบายได้ถึงปัจจัยด้านชุมชนว่ามีผลต่อการการท่องเที่ยวทางน้าอย่างไร ซ่ึงการทา
ความเข้าใจถงึ ความหมายของชุมชนจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง โดยท่ัวไปแล้ว “ชุมชน หมายถึงถ่ินฐานที่อยู่ของ
กลุ่มคน ถ่ินฐานนี้มีพื้นท่ีที่อ้างอิงได้ และกลุ่มคนนี้มีการอยู่อาศัยร่วมกัน มีการทากิจกรรม เรียนรู้ ติดต่อส่ือสาร
รว่ มมอื และพึ่งพาอาศัยกนั มีวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาประจาถ่ิน มจี ิตวิญญาณ และความผูกพันอยู่กับพ้ืนท่ีแห่งน้ัน
อยูภ่ ายใตก้ ารปกครองเดียวกัน” ซงึ่ สามารถแบง่ ออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่

1) ชุมชนชนบท หมายถึง ถิ่นฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรจานวนน้อย ความหนาแน่นของประชากรต่อ
พื้นท่ีตา่ ประชากรมคี วามคลา้ ยคลึงกนั ในดา้ นลักษณะ อาชพี และประกอบอาชพี เกษตรกรรมเป็นหลัก มีวิธีการคิด

111

แบบธรรมเนียมนิยม (traditionalism) มีรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นแบบกันเอง (ปฐมภูมิ) สภาพทาง
ธรรมชาติของถิ่นฐานน้มี กี ารปรบั เปลีย่ นเพยี งสว่ นน้อย สภาพโดยท่วั ไปมกี ารเปลย่ี นแปลงคอ่ นขา้ งชา้ กว่าเขตเมอื ง

2) ชมุ ชนเมืองเล็ก หมายถงึ ถนิ่ ฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรที่มีลักษณะอยู่ระหว่างชนบท และเมืองใหญ่
ซึ่งหมายถึง ถ่ินฐานที่อยู่อาศัยของประชากรจานวนปานกลาง ความหนาแน่นของประชากรต่อพ้ืนท่ีปานกลาง
ประชากรมีความผสมผสานในด้านลักษณะ อาชีพ ประกอบท้ังอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการ และ
บรหิ ารจดั การ มวี ิธกี ารคิดท้งั แบบธรรมเนยี มนยิ ม (traditionalism) และแบบตรรกนิยม (rationalism) ผสมผสาน
กัน มรี ูปแบบความสัมพันธท์ างสงั คมเปน็ ทง้ั แบบกันเอง (ปฐมภมู )ิ และแบบทางการ (ทุติยภูมิ) สภาพทางธรรมชาติ
ของถิ่นฐานน้ีถูกปรับเปลี่ยนแล้วเป็นส่วนมาก สภาพโดยทั่วไปมีการเปล่ียนแปลงค่อนข้างเร็วกว่าเขตชนบทแต่ยัง
ชา้ กว่าเขตเมอื งใหญ่ หรอื อีกนัยหนึ่งกค็ ือ ชุมชนชนบททเี่ พ่ิงเริ่มกลายเปน็ เมอื ง

3) ชุมชนเมืองใหญ่ หมายถึง ถ่ินฐานท่ีอยู่อาศัยของประชากรจานวนมาก ความหนาแน่นของประชากร
ต่อพ้ืนที่สูง ประชากรมีความหลากหลายในด้านลักษณะ อาชีพ และประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรรม บริการ
และบริหารจัดการเป็นหลัก มีวิธีการคิดแบบตรรกนิยม (rationalism) มีรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมเป็นแบบ
ทางการ (ทุติยภูมิ) สภาพทางธรรมชาติของถิ่นฐานน้ีถูกปรับเปลี่ยนแล้วเป็นส่วนมาก สภาพโดยท่ัวไปมีการ
เปลีย่ นแปลงคอ่ นข้างเร็วกว่าเขตชนบท

4) ส่ิงแวดลอ้ มชุมชน หมายถึง สรรพสิ่ง และสภาพต่าง ๆ ทงั้ ทีม่ ชี ีวติ และไม่มชี ีวิต จับต้องได้ และจับต้อง
ไมไ่ ด้ ทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การอยดู่ ีมสี ุขของประชาชนในชมุ ชน ซ่งึ สามารถแยกพจิ ารณาได้เปน็ 4 มติ ดิ งั น้ี

4.1) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมกายภาพ เช่น แหลง่ น้าธรรมชาติ ป่า ดิน อากาศ แหล่ง
พลังงาน มลพษิ ภาวะนา้ ท่วม เป็นตน้

4.2) ด้านเศรษฐกิจ หมายรวมถึง การจัดสรรทรัพยากร การทามาหากิน การประกอบอาชีพของ
ประชาชน การมีงานทา การมีรายได้ การกระจายรายได้ ภาวะหน้ีสิน และรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นต้น

4.3) ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมายรวมถงึ ทีอ่ ยอู่ าศัย บริการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการขั้น
พ้ืนฐาน การศึกษา การสาธารณสุขชุมชน สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การติดต่อสื่อสาร
การคมนาคมท้ังภายในและภายนอกชุมชน วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นมรดกแก่ลูกหลาน และ
ความรสู้ ึกเปน็ ชมุ ชนร่วมกนั เป็นตน้

112

4.4) ด้านการบริหารจัดการสาธารณะและการมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการมีความ
โปร่งใส (transparency) มีประสิทธิภาพ (efficiency) มีความรับผิดรับชอบ (accountability) คานึงถึงอนาคต
และการมสี ่วนร่วมของประชาชน เปน็ ต้น

ดังน้นั จากประเด็นและความหมายของชมุ ชนทีไ่ ด้กลา่ วมาจึงมีความสาคัญตอ่ การพัฒนาการท่องเที่ยวทาง
น้าอยากหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะเมื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางน้าในชุมชน โดยต้องพิจารณาในประเด็นของการ
เป็นแหล่งสร้างรายได้ให้กับภาคเอกชนและภาครัฐ รวมถึงชุมชนในพื้นที่ ซ่ึงส่ิงที่เกิดขึ้นก็คือ ผลประโยชน์ท่ีชุมชน
จะได้รับจากแนวคิดการพัฒนาแหล่งน้าเชิงพ้ืนท่ี และย่อมมีผลต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะแนวคดิ การมีส่วนร่วม ซ่ึงได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการพัฒนาชุมชนภายใต้การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ทางน้าที่อิงกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หากศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 จะพบว่า แผนพัฒนาฯ ฉบับดังกล่าวมุ่งเน้นคนเป็นสาคัญพร้อมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ
โดยพยายามเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนาจากระดับบนลงล่าง (Top-down) มาเป็นจากระดับล่างขึ้นบน
(Bottom-up) ซง่ึ แนวทางการพัฒนาจากระดบั ลา่ งข้นึ บนน้ี เก่ียวกบั แนวคดิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน ซ่ึงเป็นส่ิง
ที่ขาดหาย (Missing ingredient) ในกระบวนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางน้าที่ผ่านมา โดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนน้ัน มีนักวิชาการได้อธิบายและให้ความหมายปัจจัย ข้ันตอนการมีส่วนร่วมของชุมชน รูปแบบของชุมชนต่อ
การมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาไว้มากมาย ซ่ึงผู้วิจัยจะได้นามากล่าวไว้เท่าที่จาเป็นและท่ีสอดคล้องกับแนวทาง
การศกึ ษาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางนา้ ดังน้ี การมีสว่ นร่วมของชุมชนสามารถอธิบายได้ใน 4 มิติ อันได้แก่ (1) การมีส่วน
รว่ มการตัดสนิ ใจ (2) การมีส่วนร่วมเสียสละในการพัฒนา รวมท้ังลงมือปฏิบัติตามที่ได้ตัดสินใจ (3) การมีส่วนร่วม
ในการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินงาน และ (4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการ และ
ต้องพยายามสร้างโอกาสให้สมาชิกทุกคนของชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมช่วยเหลือและเข้ามามีอิทธิพลต่อ
กระบวนการดาเนินกจิ กรรมในการพัฒนา รวมถึงได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาน้ันอย่างเสมอภาค โดยการเปิด
โอกาสให้สงั คม องค์กรต่าง ๆ ในชุมชน ตั้งแต่การคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจ การวางแผน การร่วมปฏิบัติและ
การรับผิดชอบในผลกระทบท่ีเกิดขึ้น โดยทั้ง 4 มิติ ดังกล่าวจะต้องแสดงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนท่ีเกิดข้ึน
จากเป้าหมายที่เช่ือมโยงกับค่านิยม ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี ความผูกพัน การเสริมแรง โอกาส
ความสามารถ การสนับสนุน ความคาดหมายในสง่ิ ทตี่ ้องการ โดยมพี ้ืนฐานของการมีสว่ นร่วมอยา่ งหลกี เลีย่ งไม่ได้

นอกจากนนั้ ยังมปี จั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ การมสี ว่ นรว่ มของการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้าอีก 3 ปัจจัย ได้แก่ (1)
ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ (2) ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ได้แก่ การศึกษา อาชีพ รายได้ และการเป็น
สมาชิกกลุ่ม (3) ปัจจัยด้านการส่ือสาร ได้แก่ การรับข่าวสารจากสื่อมวลชน และสื่อบุคคล จากแนวคิดที่กล่าวมา
ขา้ งต้น ยงั มนี กั วชิ าการได้เสนอแนวคิดถึงข้นั ตอนการมสี ่วนร่วมของชุมชน โดยเสนอว่ากระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชมุ ชน มขี น้ั ตอนการมสี ่วนร่วม ดังน้ี

113

1) การวางแผน รวมถึงการตัดสินใจในการกาหนดเป้าหมาย กลวิธี ทรัพยากรที่ต้องใช้ ตลอดจนการ
ติดตามประเมนิ ผล

2) การดาเนนิ งาน

3) การใชบ้ รกิ ารจากโครงการ

4) การมีสว่ นรว่ มในการรบั ผลประโยชน์ กลา่ วคอื

4.1) การมีส่วนร่วมในการริเร่ิมโครงการ ร่วมค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในชุมชน
รว่ มตัดสนิ ใจกาหนดความต้องการและลาดับความสาคัญของความตอ้ งการ

4.2) การมีส่วนร่วมในข้ันการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ แนวทางการดาเนินงาน รวมถึง
ทรัพยากรและแหลง่ ทรพั ยากรท่ีจะใชใ้ นโครงการ

4.3) การมีส่วนร่วมในข้ันตอนการดาเนินโครงการ การทาประโยชน์ให้แก่โครงการโดยร่วม
ชว่ ยเหลือด้านทนุ ทรัพย์ วัสดอุ ุปกรณ์ และแรงงาน

4.4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการเพ่ือให้รู้ว่าผลจากการดาเนินงานบรรลุ
วตั ถุประสงคท์ ่กี าหนดไว้หรือไม่ โดยสามารถกาหนดการประเมินผลเปน็ ระยะต่อเน่ืองก็ได้

ด้วยเหตุน้ี ชุมชนจะรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา เนื่องจากทรัพยากรการ
ท่องเที่ยวกับทรัพยากรท่ีชุมชนใช้เป็นฐานการผลิตเป็นทรัพยากรเดียวกัน วัฒนธรรมธรรมและสังคมเป็นตัว
ขับเคล่ือนจิตวิญญาณของชุมชนในการสร้างสัมพันธ์กันภายในชุมชนและการสร้างความสัมพันธ์กับภายนอก ซึ่ง
ควรจะเชือ่ มโยงให้การท่องเที่ยวกบั การพฒั นาชมุ ชนเปน็ อันหน่ึงอนั เดียวกนั ยกตัวอย่างเช่น

– ด้านการจัดการ กล่าวคือ มีกฎกติกาในการจัดการส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม และการท่องเท่ียว, มีองค์กร
หรือกลไกในการทางานเพื่อจัดการการท่องเท่ียว และสามารถเชื่อมโยงการท่องเท่ียวกับการพัฒนาชุมชนโดยรวม
ได้, มีการกระจายผลประโยชน์ท่ีเป็นธรรม และมีกองทุนท่ีเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
ชมุ ชน

– ดา้ นการเรยี นรู้ กล่าวคือ ลกั ษณะของกิจกรรมการทอ่ งเท่ยี วสามารถสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในวิถี
ชีวิต และวัฒนธรรมที่แตกต่าง, มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชาวบ้านกับผู้มาเยือน และสร้าง
จติ สานกึ เร่อื งการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมทัง้ ในส่วนของชาวบา้ นและผ้มู าเยือน

114

ถ้าพิจารณาจากผลการศึกษาและประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบทท่ีเปล่ียนแปลงไปของ
ปจั จยั ทางสังคม (ชุมชนเป็นปจั จยั ทสี่ าคญั ต่อการเปล่ยี นแปลงของการพัฒนาการท่องเท่ียวทางน้า) ภายในประเทศ
ระดับภูมิภาคและระดับโลก ท่ีคาดว่าจะกระทบต่อการท่องเที่ยวทางน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2560- 2564
โดยเฉพาะจานวนนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้ามาใช้บริการในภูมิภาค GMS จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีอัตราของ
จานวนนักท่องเที่ยวท่ีสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดยในปี ค.ศ. 2010-2014 มีระดับอัตราท่ีเพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ 35.69 ซึ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคในเรื่องของจานวนนักท่องเที่ยว ถือว่ามีระดับการแข่งขันท่ีอยู่ในระดับท่ีสูง
ท่ีสุด ดังน้ัน ผู้วิจัยมีความจาเป็นจะต้องนากรณีการศึกษาท่ีจะสามารถนามาอภิปรายว่าผลประทบดังกล่าวเป็น
อย่างไร โดยสามารถสรุปได้ว่า จะนาภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS) มาประกอบการวิเคราะห์ เนื่องจากการท่องเท่ียว
ทางนา้ ในกล่มุ แมโ่ ขงนา่ จะเปน็ ผลกระทบท่ีเห็นได้ชัดเจน และยังเป็นนโยบายท่ีสามารถนามาต่อยอดในการพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวทางเรือได้อย่างดีและมีความเหมาะสม โดยท่ัวไปแล้ว ภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS) ประกอบไปด้วย
ประเทศกมั พูชา, จีน (มณฑลยนู นานและมณฑลกวางสี), ลาว, เมยี นมา, ไทย และเวียดนาม โดยเป้าเหมายท่ีสาคัญ
คือ แนวคิดการลดระดับความยากจนในชุมชน การพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนในด้านการยอมรับและการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนา และครอบคลมุ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจเชงิ พนื้ ที่ภายใต้ปัจจัยของชุมชนท่ียกระดับความร่วมมือ
กบั หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง เช่น การสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยเฉพาะโครงการทุนและเงินกู้ รวมท้ังการ
ท่องเท่ียวของแม่น้าโขง อันได้แก่ โครงการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน และล่าสุดคือ โครงสร้างพ้ืนฐานการ
ท่องเที่ยวสาหรับโครงการขยายการเติบโตแบบภูมิภาค โครงการเหล่านี้มีการลงทุนด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ
การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน รวมไปถงึ การพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันและการตลาดการท่องเทย่ี ว

หากพิจารณาในด้านนโยบายแล้ว จะเห็นได้ว่าการท่องเท่ียวในรูปแบบล่องเรือในแม่น้ามีความจาเป็นท่ี
ต้องมีการเข้าถึงชุมชนที่มีผลต่อโครงการ GMS ท้ังภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ยังมีแม่น้าสายใหญ่หลายแห่งท่ีสามารถ
พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือได้ เช่น แม่น้าอิรวดี, แม่น้าเจ้าพระยา และแม่น้าแดง (เป็นแม่น้าที่ไหล
จากทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนผ่านทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไปส้ินสุดท่ีอ่าวตังเกี๋ย) เป็นต้น
กรณีของแม่น้าท่องเท่ียวล่องเรอื ในมหาสมุทร สถานที่ท่องเที่ยวสาคัญในภูมิภาคนี้รวมถึงการเท่ียวชมชายฝั่งที่เป็น
ท่ีนิยมท่ีอยู่ตามแม่น้า เช่น การไปเยือนสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง (Mekong Delta) อ่าวฮาลอง (เป็นอ่าวแห่งหน่ึง
ในพื้นที่ของอ่าวตังเกี๋ยทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ใกล้ชายแดนติดต่อกับประเทศจีน) และแม่น้า
เจ้าพระยา เป็นต้น ซ่ึงแนวทางกลยุทธ์ภายในประเทศที่จะนามาสู่ความสาเร็จและจะต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ
จากหลักการดงั ต่อไปน้ี

1. หลักการด้านนโยบายของภาครัฐ กล่าวคือ จะต้องมีการกาหนดการเข้าถึงระบบวีซ่าและการ
ประสานงานด้านคนเข้าเมืองมากข้ึน นอกจากน้ีการท่องเท่ียวล่องเรือในลุ่มแม่น้าโขงจะขึ้นอยู่กับนโยบายเพื่อ

115

ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานและแนวทางในการตรวจสอบประโยชน์ของการท่องเที่ยวล่องเรือไปถึงแหล่งชุมชน
เน่ืองจากดชั นีของการเพมิ่ การแข่งขันนั้นจะต้องอาศัยแหล่งชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเช่นกัน เช่น

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความ
สมดุลและยั่งยืน (ปัจจัยที่ 1 สภาพแวดล้อมที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงานในประเทศ โดยมี 4 หมวดที่สาคัญที่
สะท้อนถึงกลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ (1) การยอมรับจากชมุ ชนในการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (2) การสร้างความม่ันใจ
กับชุมชนและความปลอดภัย (3) การสร้างความเข้าใจเชิงชุมชนในการให้ความสาคัญกับสุขภาพและสุขอนามัย
และ (4) การส่อื สารและการฝึกงานเพ่ือพฒั นาทรัพยากรบุคคลและตลาดแรงงานใหก้ บั ชมุ ชน)

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือรองรับการขยายตัวของ
การท่องเท่ียว โดยมีปัจจัย 2 หมวดที่สาคัญซึ่งสะท้อนถึงกลยุทธ์โครงการแม่โขง ได้แก่ (1) โครงสร้างพื้นฐาน
บริการด้านการท่องเท่ียว และ (2) โครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่งทางบกและทางน้า ซึ่งทั้ง 2 หมวดมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของชุมชนเป็นอย่างมาก เนื่องจากโครงสร้างการลงทุนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างท้ัง
วฒั นธรรมและสังคม

2. ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน หากพิจารณาจาก GMS จะเห็นได้ว่า แม่น้าและ
มหาสมุทรเป็นส่วนสาคัญของชีวิตและอาจมองเป็นวิถีชีวิตของชุมชน และยังเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมใน
ภูมิภาคนี้ การท่องเท่ียวล่องเรือบนแม่น้าและมหาสมุทรเหล่านี้มีศักยภาพในการเชื่อมต่อการเดินทางไปใช้ชีวิตใน
ทอ้ งถนิ่ และการอัดฉดี เม็ดเม็ดเงินลงไปยังพ้ืนที่ต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้บรรลุถึงศักยภาพตามหลักการ ประเทศต่าง ๆ
ของ GMS จะต้องทางานร่วมกันและร่วมมือกบั ภาคเอกชนตามความเหมาะสมเพ่ืออานวยความสะดวกในการสร้าง
ความร่วมมือในระดับชุมชน เช่น การข้ามพรมแดนเพื่อพัฒนาและส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวในวงกว้าง
ความหลากหลายของเส้นทางการท่องเท่ียวล่องเรือในภูมิภาค และส่งเสริมการท่องเที่ยวล่องเรือรวมท้ัง วิธีการ
ขนส่ง และประสบการณ์ด้านวัฒนธรรมท่ีหลากหลายใน GMS ซึ่งระดับความร่วมมือสามารถมองข้ามระดับความ
ร่วมมือของชุมชนและยุทธศาสตร์ที่นาไปสู่ระดับความร่วมมือของชุมชน อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยได้กาหนด
ยุทธศาสตร์ไว้ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 3 คือ การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว และสนับสนุนการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี ว (ไม่ได้ระบุในดชั นกี ารแขง่ ขัน แต่ได้ระบไุ วใ้ นกลยุทธ์ของหน่วยงานต่าง ๆ
เชงิ บรู ณการ)

นอกจากน้ัน ปัจจัยทางสังคมในระดับภูมิภาคที่เน้นไปยังชุมชนยังส่งผลต่อการดาเนินกลยุทธ์เชิงภูมิภาค
และในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS โดยจะข้ึนอยู่กับความร่วมมือท่ีสะท้อนถึงประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค
ระดับชาติ จังหวัดและท้องถิ่น และความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน และภาครัฐ หรืออาจพิจารณาจากแนว
ทางการเป็นหนุ้ ส่วน ซงึ่ มอี งค์กรต่อไปนี้

116

1. UNWTO เป็นผู้ริเร่ิมและเป็นผู้นา องค์การระหว่างประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวบน
แม่น้าโขง UNWTO สร้างความน่าเชื่อถือสาหรับแผนการที่จะพัฒนาต่อไป โดยเฉพาะการประสานงานกับ GMS
และ NTOs (National Tourism Organizations) จาก 5 ประเทศ เพื่อปฏิบัติตามแผนการ เช่น ช่วย GMS และ
NTOs ในการจัดกจิ กรรมที่กาหนดไว้กบั ชมุ ชน

2. ความสา้ คญั ของเลขาธิการอาเซียน กล่าวคอื คณะทางานด้านการทอ่ งเท่ียวท่ีมีบทบาทสาคัญอย่างย่ิง
ในการพัฒนาแนวคิดเร่อื งการทอ่ งเท่ยี วเรอื สาราญและการทอ่ งเท่ียวตามแม่น้า ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์
การทอ่ งเทย่ี วอาเซียนในแผนปี ค.ศ. 2016-2025 โดยเฉพาะเมอื่ เนน้ ถงึ ชุมชนท่สี ง่ ผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ยวทาง
นา้ เช่น การชว่ ย GMS และNTOs ในการจัดกจิ กรรมตามท่กี าหนดภายใตก้ ลยทุ ธก์ บั ชุมชน

3. องค์การการท่องเที่ยวแห่งชาติของ GMS ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบด้านการ
ท่องเท่ียวในแต่ละประเทศ GMS และ NTOs จะมีบทบาทสาคัญกับชุมชน กล่าวคือ การจัดการประชุมเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารระดับชาติ ระดับจงั หวดั และระดับท้องถิ่นเกย่ี วกบั หวั ข้อของแมน่ า้ ที่ใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยว

4. คณะกรรมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River Commission: MRC) เป็นสถาบันรับผิดชอบในการ
ส่งเสริมให้เกิดความย่ังยืนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนของแม่น้าโขง โดยการท่องเท่ียวถูกระบุ
ว่าเป็นจุดสาคัญของการพัฒนา โดยเน้นการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเท่ียวตามแม่น้าซ่ึงจัดโดย UNWTO,
อาเซียน, MTCO (สานักงานประสานความร่วมมือการท่องเที่ยวลุ่มแม่น้าโขง: Mekong Tourism Coordinating
Office) หรือ NTOs และรวมแหล่งข้อมูลการท่องเที่ยวแม่น้าเพื่อเป็นรูปแบบการพัฒนาและรวมถึงการจัดประชุม
ตา่ ง ๆ ซ่ึงขนั้ ตอนและกระบวนการดงั กลา่ วสะท้อนถงึ การให้ความสาคญั กบั ชุมชน

5. การพฒั นาแบบคคู่ ้า ซึง่ จะใหข้ อ้ มลู ทางเทคนิคและความช่วยเหลือทางการเงินเพ่ือสนับสนุนผลิตภัณฑ์
ของหลายประเทศ โดยรว่ มการประชุมท่ีจัดโดยชุมชน โดยเฉพาะการประชมุ เพ่อื การพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วทางนา้

ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ปัจจัยทางสังคมในระดับภูมิภาคที่เน้นไปยังชุมชนส่งผลต่อการดาเนินกลยุทธ์เชิง
ภูมิภาคและในการนานโยบายไปปฏิบัติใน GMS และภายในประเทศในแต่ละประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
โดยเฉพาะนโยบายทจ่ี ะตอ้ งดาเนินยุทธศาสตร์เชงิ บูรณการโดยการนาแผนกลยุทธ์มาปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งแน่นอน
ว่าจะต้องข้ึนอยู่กับความร่วมมือท่ีสะท้อนถึงประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค ระดับชาติ จังหวัด และท้องถิ่น และ
ความร่วมมอื ระหว่างภาคเอกชน และภาครัฐ หรืออาจพิจารณาจากแนวทางการเป็นหุ้นส่วน เป็นต้น ซ่ึงในปัจจุบัน
แผนปฏบิ ตั ิการดังกล่าวยังเป็นเพียงแผน แต่การปฏิบัติยังขาดความจริงจังจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความเก่ียวข้อง
กับโครงการแม่น้าโขง ทาให้การสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนชนบท ชุมชนเมืองเล็ก ชุมชนเมืองใหญ่ และ
สง่ิ แวดล้อมชุมชนไม่กอ่ ให้เกิดประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลท่ีแทจ้ ริงในระดบั ภูมิภาคและระดับประเทศ

117

3. ผลการศกึ ษาและประเมนิ ผลกระทบของสภาพแวดล้อมและบริบททเ่ี ปลี่ยนแปลงไป ทังปัจจัยทาง
เศรษฐกจิ สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม ทงั ภายในประเทศ ระดับภมู ิภาคและระดับโลก ทีค่ าดว่าจะกระทบ
ตอ่ การท่องเที่ยวของไทยทางน้าของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564: กรณีปัจจัยทางสง่ิ แวดล้อม

3.1 ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนต่อการทอ่ งเที่ยวทางนา้ ในระดับโลก

โลกในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมมากท่ีสุด โดยเฉพาะประเด็นของ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ซ่ึงทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมอ่ืน ๆ ตามมาอีกหลาย
ประการ ทั้งน้ีไม่ว่าภาวะดังกล่าวจะเกิดจากสาเหตุใด ๆ ก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ได้สังเกตเห็นและยืนยันถึงการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลกที่เพ่ิมสูงขึ้น โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2403–2543 อุณหภูมิโลกเพ่ิมขึ้นประมาณ 0.6 องศา
เซลเซียส (ศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก, 2557) ซึ่งการคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศเป็นเรื่องที่ไม่
สามารถกระทาอยา่ งแม่นยาได้ ดงั นั้นการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิโลกจึงอาจเพ่ิมขึ้นในอัตราที่เร็ว หรือช้ากว่าที่ผ่านมา
กไ็ ด้

118

ภาพท่ี 3.6 อุณหภมู ิของพืนผวิ โลกทเ่ี พ่ิมขนึ ในช่วง 140 ปี (รูปบน) และในช่วง 1,000 ปี (รปู ล่าง)

ทมี่ า: *IPCC, 2001: Climate Change 2001: Synthesis Report. A

Contribution of Working Groups I, II, and III to the Third
Assessment Report of the Intergovernmental Panel on
Climate Change [Watson, R.T. and the Core Writing Team
(eds.)]. Cambridge University Press, Cambridge, United

Kingdom, and New York, NY, USA, 398 pp. อา้ งถึงใน
ศนู ย์มรดกโลก ยเู นสโก (2557)

นอกจากนี้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นอีกประการหน่ึงก็คือ การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
และการเกิดมลพิษเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ท้ังนี้การพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยมีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือตอบสนองที่
สาคัญ ได้ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติลดลงอย่างรวดเร็ว และแม้ในกระบวนการผลิตจะเป็นไปในแนวทางของการ
ผลิตที่สะอาดปราศจากมลพิษ แต่ในข้อเท็จจริงสถานการณ์มลพิษในด้านต่าง ๆ ก็ยังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
บริบทของส่ิงแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปนี้ย่อมส่งผลกระทบต่อวิถีการดารงชีวิตของมนุษยชาติอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
ซึ่งในส่วนต่อไปจะได้นาเสนอถึงผลกระทบของปัจจัยส่ิงแวดล้อมดังกล่าวท่ีมีต่อโลก ผลกระทบในระดับภูมิภาค
และผลกระทบทจ่ี ะเกิดกบั การทอ่ งเทีย่ วทางน้าของประเทศไทย

ภาวะโลกรอ้ นไดท้ าให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงรปู แบบภูมอิ ากาศ และเกิดการรบกวนดุลยภาพทางธรณีฟิสิกส์
ซ่ึงนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2643 (ค.ศ. 2100) อุณหภูมิของโลกจะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยอยู่ในช่วง 1.4-5.8
องศาเซลเซียส (ศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก, 2557) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งน้ีในแหล่ง
มรดกโลกซึ่งส่วนใหญ่เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญในระดับโลก พบว่า ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศได้ก่อให้เกิดภัยคุกคามต่อแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ และแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในหลาย
ประการด้วยกนั ดงั ปรากฏในภาพ

119

ภาพท่ี 3.7 ภัยคกุ คามของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศท่มี ีรายงานว่ามผี ลต่อแหลง่ มรดกโลก

ก. แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

ข. แหลง่ มรดกโลกทางวัฒนธรรม

การถอยร่นและละลายของธารนา้ แขง็
การสงู ข้ึนของระดับน้าทะเล
การสูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ
การอพยพของชนิดพนั ธ์ุ
การเปลี่ยนแปลงรปู แบบการตกของฝน
และภยั แลง้
ความถข่ี องการเกิดไฟป่า
การฟอกขาวของปะการัง
การกัดเซาะชายฝ่ัง
อ่ืน ๆ

ความถใี่ นการเกดิ เฮอริเคน
และพายุ
การสงู ข้ึนของระดับนา้ ทะเล
การกดั เซาะชายฝั่ง
อทุ กภยั
การเปลี่ยนแปลงรปู แบบการตกของฝน
ความเสยี หายตอ่ ภาพวาดภายนอก
ภัยแล้ง
อ่นื ๆ

ท่ีมา: ศนู ย์มรดกโลก ยูเนสโก (2557)

ท้ังน้ีจะได้กล่าวถึงประเด็นผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เฉพาะเรื่องที่อาจมีผลกระทบ
ต่อการทอ่ งเทยี่ วทางน้าของประเทศไทย โดยชใี้ หเ้ ห็นถงึ ตวั อย่างผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับนานาชาติ ดังนี้

120
3.1.1 การเปลี่ยนแปลงการตกของฝนและภาวะความแหง้ แลง้ ในระดับโลก
การเปลีย่ นแปลงเนอ่ื งจากสภาวะโลกรอ้ น ทาให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าวัฏจักรน้าจะมีการเปล่ียนแปลงที่
รุนแรงมากยงิ่ ขึ้น โดยมเี หตุการณฝ์ นตกรนุ แรงเพิม่ ข้ึนสง่ ผลใหเ้ กิดอทุ กภยั ในหลายพ้ืนท่ี แต่ในขณะเดียวกันภัยแล้ง
มีแนวโน้มท่ีจะเกิดถ่ีมากย่ิงขึ้น ส่งผลให้หลายพื้นที่กลายสภาพเป็นทะเลทราย ในปัจจุบันจึงได้มีอนุสัญญาว่าด้วย
การต่อต้านการแปรสภาพเป็นทะเลทราย (United Nations Convention to Combat Desertification:
UNCCD) ขึ้น เพ่ือดูแลในเร่ืองดังกล่าว ทั้งนี้ตัวอย่างของความเสียหายจากภาวะอุทกภัย ได้แก่ เหตุการณ์น้าท่วม
รนุ แรงที่มีความถี่เพ่ิมขึน้ ในเมอื งเวนิส ประเทศอติ าลี (Venice, Italy) ดังปรากฏตัวอย่างในภาพ

ภาพที่ 3.8 อุทกภยั ในเวนิส อติ าลี

ที่มา: Mthai News (2012)
เมืองเวนิสเป็นเมืองท่องเที่ยวที่นอกจากจะขึ้นช่ือในเรื่องของสถาปัตยกรรมอันงดงามแล้ว เมืองเวนิสยังมี

ชือ่ เสยี งในเรื่องของการเปน็ เมอื งทอ่ งเทีย่ วทางน้า ซ่ึงเป็นจดุ หมายปลายทางทสี่ าคัญสาหรบั ผู้ท่รี กั การท่องเที่ยวทาง
นา้ ดว้ ย

121
ส่วนความแห้งแล้งนอกจากจะทาให้เกิดการกลายสภาพเป็นทะเลทรายแล้ว ความแห้งแล้งยังเร่งให้เกิด
การผกุ ร่อน พงั ทลายและเรง่ การพังทลายของแหล่งท่องเที่ยวทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมได้ แต่ประเด็นผลกระทบท่ี
สาคัญที่สุด คือ ความแห้งแล้งทาให้ลาน้าแห้งลงส่งผลให้ไม่สามารถดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวทางน้าได้
ตวั อยา่ งเชน่ การเกดิ ภาวะแหง้ แลง้ ในลุ่มน้าแอมะซอน (Amazon) ประเทศบราซิล อันเป็นผลมาจากปรากฏการณ์
El Nino เม่อื ปี พ.ศ. 2558-2559 ท่ีเป็นเหตุให้อุณหภูมิน้าทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกสูงขึ้นและลดปริมาณฝนที่ตก
ลงยงั พ้นื ที่ป่าแอมะซอนลง จนล่าสดุ องคก์ ารนาซา (NASA) ไดอ้ อกคาเตือนว่าสภาพความแห้งแล้งรุนแรงอาจทาให้
ผืนป่าแอมะซอนตกอยู่ในความเส่ียงต่อการเกิดไฟป่าได้มากย่ิงขน้ึ

ภาพที่ 3.9 สภาพของแมน่ า้ แอมะซอนท่ีประสบปัญหาภาวะภยั แล้ง

ทีม่ า: คมชัดลึก (2559)
ดงั นั้นจะเห็นไดว้ ่าการเกดิ การเปลี่ยนแปลงการตกของฝนเน่ืองจากสภาวะโลกร้อน จะทาให้เกิดปัญหากับ
การทอ่ งเท่ยี วทางนา้ ทงั้ จากการเกิดอุทกภยั และภยั แลง้ ได้
3.1.2 การเปลย่ี นแปลงวงรอบและความถ่ใี นการเกิดภยั พิบตั ทิ ร่ี ุนแรงในระดับโลก
การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อน เป็นปัจจัยที่ทาให้ความถี่ของสภาวะอุ่น
(warm episodes) ในปรากฏการณ์ El Nino และความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ (Southern
Oscillation) มีการเปล่ียนแปลงเพ่ิมขึ้น ส่งผลให้ความถ่ีในการเกิดภัยพิบัติท่ีรุนแรง ได้แก่ ไฟไหม้ วาตภัย และ
พายุหมนุ เขตรอ้ นเพ่ิมมากข้ึน ภัยพิบัติเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการท่องเท่ียวทางน้าทั้งส้ิน นอกจากนี้ความถ่ีใน
การเกิดภัยพิบัติท่ีรุนแรงยังทาให้แหล่งท่องเท่ียวเกิดความเสียหายได้ ดังเช่นตัวอย่างความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับ

122
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่ีเป็นภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรมในอุทยานแห่งชาติราปา นุย ประเทศชิลี (Rapa Nui National Park,
Chile) อุทยานแห่งชาติน้ีอยู่บนเกาะอีสเตอร์ ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยมีรูปจาหลักหินโมไอ (Moai) เป็น
ปรากฏการณ์ทางวฒั นธรรมทโี่ ดดเดน่ ดงั ภาพ
ภาพท่ี 3.10 ผลกระทบจากความถ่ใี นการเกดิ ภัยพิบตั ิที่รุนแรงในแหล่งทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรมในอุทยาน
แห่งชาติราปา นยุ

ที่มา: Jane Downes, Kate Welham and Adam Stanford (2017)
ดังนั้นสถานที่ท่องเท่ียวแห่งนี้จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญ แต่จากภัยพิบัติที่เกิดถ่ีขึ้นและ
รุนแรงข้ึน ทาให้รูปจาหลักหินเหล่านี้เกิดความเสียหายมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังการเกิดสึนามิในปี พ.ศ. 2533
ได้มีพายุเกิดบ่อยคร้ังข้ึนทาให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งมากข้ึน รวมถึงกระแสลมที่รุนแรงได้ทาให้รูปจาหลักหินเกิด
ความเสียหายมากขึ้นด้วย จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่าการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบในทางลบต่อ
แหล่งท่องเท่ียวบนชายฝ่ัง ความเสียหายน้ีนอกจากจะทาลายบางส่วนของแหล่งท่องเท่ียวทางโบราณคดีบนเกาะ
ยังสง่ ผลกระทบเชิงลบอยา่ งมากตอ่ เศรษฐกิจการท่องเทย่ี วของ Rapa Nui ด้วย
3.1.3 การเพิม่ ขึนของระดับนา้ ทะเลในระดับโลก
ภาวะโลกร้อนซ่ึงทาให้เกิดการละลายของแผ่นน้าแข็งขนาดใหญ่ในบริเวณข้ัวโลก จะทาให้ระดับน้าทะเล
เพ่ิมสูงขึ้น โดยนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2643 ระดับน้าทะเลท่ัวโลกจะสูงขึ้น 0.09-0.88 เมตร ซ่ึง
จากเหตุการณ์การเกิดการละลายของแผ่นน้าแข็งที่เพิ่มมากข้ึนอย่างผิดปกติในปัจจุบัน อาจทาให้ระดับน้าทะเล
เพ่ิมสูงขนึ้ เร็วยิง่ ขน้ึ ด้วย
ระดับน้าทะเลท่ีเพ่ิมสูงข้ึนน้ีได้ทาให้แหล่งท่องเท่ียวท่ีอยู่บริเวณริมฝ่ังทะเล และบริเวณริมลาน้าจากปาก
แม่น้าเข้าไปเกิดปัญหาทั้งจากการเกิดภาวะน้าท่วม และการเกิดการกัดเซาะชายฝ่ังที่รุนแรงมากขึ้นด้วย ตัวอย่าง

123
ผลกระทบจากระดับน้าทะเลที่เพิ่มสูงข้ึน คือ แหล่งท่องเที่ยวบริเวณริมฝั่งแม่น้าเทมส์ กรุงลอนดอน สหราช
อาณาจักร ซึ่งประกอบด้วยพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ และวิหารเวสต์มินสเตอร์ รวมท้ังโบสถ์เซนต์มากาเร็ต
(Palace of Westminster and Westminster Abbey including Saint Margaret’s Church) หอคอยแห่ง
ลอนดอน (Tower of London) และเมอื งนาวีกรนี ชิ (Maritime Greenwich)

ภาพท่ี 3.11 ภาพจ้าลองการเกิดภาวะอทุ กภัยจากระดบั น้าทะเลท่สี ูงขึนหากไม่มีเคร่ืองกนั แม่นา้ เทมส์

ทีม่ า: Flood London (2012)
ทั้งน้จี ากการคาดการณ์โดยแบบจาลอง พบว่า ภายในปี พ.ศ. 2623 ระดับน้าทะเลบริเวณปากแม่น้าเทมส์
จะเพิ่มสูงขึ้นโดยประมาณ 0.26-0.86 เมตร ดังนั้นทางสหราชอาณาจักรจึงได้ออกแบบเครื่องกั้นแม่น้าเทมส์
(Thames Barriers) เพือ่ ป้องกันระดบั น้าทะเลทีเ่ พิม่ สงู ข้นึ และคลน่ื พายซุ ัดฝงั่ (Storm Surge) ซึ่งในการออกแบบ
ได้มีการคาดการณ์ว่าเครื่องป้องกันน้ีจะถูกใช้เพียง 2-3 ครั้งต่อปีเท่าน้ัน แต่ในปัจจุบันเครื่องมือนี้ถูกใช้งาน 6-7
คร้ังต่อปี จึงคาดกันว่าเครื่องมือน้ีจะใช้แก้ปัญหาภัยพิบัติน้ีได้จนถึงปี พ.ศ. 2568 เท่านั้น (สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม, 2557)
3.1.4 การเปลย่ี นแปลงคา่ ความเป็นกรดของนา้ ทะเลในระดบั โลก
การเพ่มิ ขึ้นของระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ และที่ละลายอยู่ในมหาสมุทรทาให้เกิดความเป็น
กรดของน้าทะเลที่เพิ่มขึ้น (marine acidification) ด้วยเหตุนี้ได้ทาให้ระบบนิเวศทางทะเลเปลี่ยนแปลงไปอย่าง

124
มาก สง่ ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเท่ยี วทางทะเล ซง่ึ ตัวอย่างของแหล่งทอ่ งเทย่ี วทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง
ค่าความเป็นกรดของน้าทะเล ได้แก่ แหล่งท่องเท่ียวแนวปะการังใหญ่เกรตแบริเออร์รีฟ (Great Barrier Reef)
ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งจากอุณหภูมิของน้าทะเลที่สูงข้ึน และค่าความเป็นกรดของน้าทะเลที่สูงขึ้นได้ทาให้แนว
ปะการังดังกล่าวเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว (Coral Bleaching) เป็นบริเวณกว้าง และกาลังขยายตัว
เพิม่ ขึ้นเร่อื ย ๆ ท้งั นป้ี ะการงั ท่ีฟอกขาวนี้ก็คอื ปะการงั ทต่ี ายแลว้ นั่นเอง

ภาพที่ 3.12 ปรากฏการณ์ปะการงั ฟอกขาวทเี่ กดิ ขึนทเี่ กรทแบรเิ ออรร์ ฟี ออสเตรเลีย

ท่ีมา: SEBASTIAN KETTLEY (2017)
ดังน้ันสาหรับการท่องเท่ียวทางทะเลโดยเฉพาะการดาน้าชมปะการัง ย่อมจะได้รับผลกระทบจาก
ปรากฏการณ์ดังกลา่ วได้

3.2 ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอ่ แหลง่ ท่องเทีย่ วบางประเทศในภมู ิภาค
ใกลเ้ คยี ง

1) เมืองเกา่ ฮอยอัน ประเทศเวยี ดนาม
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อแหล่งท่องเท่ียวทางน้าในประเทศเพื่อบ้าน

ของไทยท่ีเด่นชัดท่ีสุดน่าจะเป็น ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อนที่เกิดกับเมืองฮอยอัน (Hoi An) จังหวัดกว่างน้า

125
(Quang Nam Province) ประเทศเวียดนาม ซึ่งเมืองฮอยอันเป็นเมืองเก่าที่เจริญขึ้นจากการเป็นเมืองท่าริมฝ่ัง
ทะเลจีนใต้ทางตอนกลางของประเทศ และเมืองเก่าแห่งนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็นแหล่งมรดกโลก ในปี พ.ศ.
2542 ดว้ ย

อย่างไรก็ตามในระยะหลังเมืองเก่าฮอยอันประสบกับปัญหาอุทกภัยบ่อยครั้งข้ึน เนื่องมาจาก
ปญั หาสภาวะโลกร้อนที่ทาให้เกิดฝนตกหนัก และเกิดพายุพัดเข้าสู่เวียดนามบ่อยครั้งขึ้น ทาให้เมืองมรดกโลกฮอย
อนั ซ่ึงต้ังอย่รู มิ แม่น้าทู โบน ประสบกับปญั หาอุทกภัยและนา้ ทะเลหนนุ สงู บ่อยครัง้ ขึน้

ภาพท่ี 3.13 ภาวะฝนตกหนักและน้าทะเลหนนุ สงู ท้าให้เกิดอุทกภยั ในเมืองฮอยอนั ประเทศเวียดนาม

ที่มา: Tuoitrenews (2013)

ทัง้ นี้ในปี พ.ศ. 2552 พายุไตฝ้ ่นุ กสิ นาไดพ้ ดั เขา้ สเู่ มอื งฮอยอัน ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยที่มีระดับ
น้าสูงถึง 3 เมตร ซง่ึ ทางการเวียดนามเชื่อวา่ ความเสียหายทเี่ กิดข้ึนน้ีนบั เปน็ ครงั้ ทร่ี ุนแรงท่ีสุดในรอบหลายสิบปี ทา
ให้พนื้ ทใ่ี นเขตเมืองเก่าทั้งหมดจมอยู่ใต้น้า นักท่องเที่ยวจานวนมากต้องติดอยู่ภายในเมืองเน่ืองจากสะพานที่เช่ือม
ระหว่างเมืองเก่าและตัวเมอื งฮอยอนั ถูกตดั ขาด

2) แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วในประเทศบังกลาเทศ
ประเทศบังคลาเทศเป็นประเทศท่ีได้รับผลกระทบจากการลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศค่อนข้าง

รุนแรง โดยมีฝนตกมากข้ึนส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยถ่ีขึ้น นอกจากน้ียังเกิดพายุหมุนเขตร้อนบ่อยคร้ังข้ึน

126

บ้านเรือนราษฎรจึงถูกทาลายเพราะน้าท่วมและพายุหมุน นอกจากน้ีแผ่นเปลือกโลกบริเวณนี้ยังมีการเคลื่อนที่ซึ่ง
สง่ ผลใหเ้ กิดแผน่ ดินไหวและส่งผลใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงของกระแสน้า

ทั้งน้ีประเด็นภัยพิบัติที่เกิดจากภาวะโลกร้อนอีกประการหนึ่งก็คือ การเกิดฟ้าผ่า ซึ่งอาติก ราห์
มาน ผู้อานวยการบริหารของศูนย์วิทยาการข้ันสูงของบังกลาเทศ กล่าวว่าจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate Change) ทาให้น้าระเหยไปจากแผ่นดินและมหาสมุทรมากข้ึน มีกลุ่มเมฆและฝนตกมากข้ึน และมี
โอกาสเกิดพายุฝนฟ้าคะนองมากขึ้นด้วย ผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเบอร์เกเลย์คาดหมายว่า อุณหภูมิที่สูงขึ้น
ทุกๆ 1 องศาเซลเซยี สจะทาใหเ้ กิดฟ้าผา่ เพม่ิ ขน้ึ 12 เปอร์เซ็นต์ พร้อมคาดหมายว่าในช่วงปลายศตวรรษนี้จะมีเหตุ
ฟา้ ผ่าเพิม่ ขึ้นถงึ 50 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งตลอดท้ังเดือนพฤษภาคมมีผู้เสียชีวิตจากการถูกฟ้าผ่า 132 ราย และจากข้อมูล
จากกรมอุตุนิยมวิทยาของบังกลาเทศ พบว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากการถูกฟ้าผ่าในบังกลาเทศนับตั้งแต่ปี 2010 อยู่ท่ี
1,476 ราย ซึ่งสงู ขึ้นกว่าภาวะปกตใิ นอดตี มาก (MGR online, 2559)

ดังน้ันในสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ ได้แก่ ชายหาด Cox’s Bazar และ เกาะ Saint Martin ซึ่งเป็น
แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางทะเลยอ่ มประสบกบั ปญั หาดังกลา่ วข้างตน้ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากผลกระทบจาก
พายุไซโคลนโมรา (Mora) ในระดับ 10 ซ่ึงเป็นระดับสูงสุด มีความเร็วลม 135 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ได้พัดข้ึนฝ่ังที่
เกาะ Saint Martin และ เกาะ Teknaf ในเขตชายฝ่ังของเมือง Cox’s Bazar ที่เป็นเมืองท่องเที่ยวสาคัญทางตอน
ใตข้ องบังกลาเทศ ทาให้บ้านเรือนอย่างน้อย 15,000 หลัง พังเสียหาย มีการอพยพผู้คนในพื้นท่ีราว 200,000 คน
ออกจากพ้ืนท่ีประสบภัย แล้ว มีชาวบ้านได้รับผลกระทบจากพายุไซโคลนจนเสียชีวิต 3 ราย และบาดเจ็บอีก
จานวนมาก (ภาพที่ 3.14)

127

ภาพที่ 3.14 ผลกระทบของพายโุ มราตอ่ แหล่งท่องเท่ียวชายฝั่งของบังคลาเทศ

ท่ีมา: Mijankh (2017)

3) แหล่งทอ่ งเทีย่ วในประเทศญ่ปี นุ่

ประเทศญ่ีปุ่นนับเป็นประเทศท่ีประสบกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ค่อนข้างชัดเจน โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2560 ประเทศญี่ปุ่นประสบกับภัยพิบัติหลายประเภทท้ังฝนตกหนักท่ีสุดใน
รอบหลายสิบปี อุทกภัย ตลอดจนอากาศที่ร้อนจัดในช่วงเวลาเดียวกัน โดยภูมิภาคต่าง ๆ ของญ่ีปุ่นประสบกับ
ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ทั้งพายุฝนท่ีให้เกิดน้าท่วมและดินถล่มท่ีเกาะคิวชู ทาให้มีผู้เสียชีวิตมากถึง 34
คน, ฝนตกหนักที่จังหวดั อะคิตะ จนทางการท้องถ่ินตอ้ งสั่งอพยพประชาชนกว่า 26,000 ขณะที่ในกรุงโตเกียวกลับ
มีลกู เหบ็ ตกกลางฤดรู ้อน สว่ นภมู ภิ าคคนั ไซตอ้ งเผชญิ กบั อากาศทร่ี ้อนผดิ ปกตนิ อกจากน้ีญ่ีปุ่นยังมีพายุไต้ฝุ่นพัดเข้า
สู่ประเทศมากกว่าท่ีเคยมีมา โดยช่วงต้นฤดูกาลในปีนี้มีพายุไต้ฝุ่น 3-4 ลูกก่อตัวและพัดเข้าสู่ญี่ปุ่น ขณะท่ีปริมาณ
ฝนตกหนักมากท่ีสุดในรอบ 30-40 ปี โดยผู้เช่ียวชาญระบุว่าฝนท่ีตกมากกว่า 50 มิลลิเมตรต่อช่ัวโมง ส่งผลให้
ต้นไม้บนภูเขาพังทะลายและลอยเข้าซัดบ้านเรือนเสียหายซ่ึงแม้ในเมืองใหญ่ที่มีระบบระบายน้าท่ีดีก็ยังเกิดภาวะ
อุทกภัยข้ึน และด้วยลักษณะภูมิประเทศที่เป็นเกาะยังพบว่าอุณหภูมิของน้าทะเลได้เพิ่มสูงข้ึน โดยน้าทะเลรอบ
เกาะญ่ีปนุ่ ทกุ วนั นสี้ งู ถงึ 27-30 องศาเซลเซยี ส ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักและน้าทว่ มได้มากขึน้

ดังนั้นแหล่งท่องเท่ียวที่มีช่ือเสียงจานวนมากของประเทศญี่ปุ่นย่อมประสบกับปัญหาดังกล่าว
ดังเช่นการเกิดภัยพิบัติบนเกาะคิวชูซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบแก่หมู่บ้านชาวนา tashibunoshou ในจังหวัด Oita
(ภาพที่ 3.15) เปน็ ต้น

128

ภาพที่ 3.15 อทุ กภยั ในจงั หวดั โออิตะ เกาะควิ ชู

ที่มา: ขา่ วสด (2560)

ท้ังน้ีผู้เชี่ยวชาญได้คาดการณ์ว่า ในช่วงส้ินศตวรรษที่ 20 อุณหภูมิเฉล่ียของญ่ีปุ่นจะเพิ่มข้ึนราว
4.5 องศา และโอกาสท่ีจะเกิดน้าท่วมใหญ่จะเพ่ิมข้ึนสูงถึง 2 เท่าตัว โดยอุณหภูมิท่ีเพิ่มข้ึนทุก 1 องศาจะมีความ
เสย่ี งทจี่ ะเกดิ ฝนตกหนกั เพ่มิ ขึน้ 4-13%

3.3 ผลกระทบของภาวะโลกร้อนตอ่ การทอ่ งเท่ยี วของประเทศไทย

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในส่วนของประเทศไทย จากสถิติข้อมูล 64 ปีย้อนหลัง
พบว่า ในระยะ 15 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิเฉล่ียทั้งปีของประเทศไทยเพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกติประมาณ 0.2 องศา
เซลเซียส แต่หากมองเฉพาะอุณหภูมเิ ฉลี่ยในปี พ.ศ. 2558 จะพบว่าอุณหภูมิเฉล่ียตลอดท้ังปีเพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกติ
มากถึง 0.8 องศาเซลเซียส (สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560) และเม่ือ
พิจารณารายเดือนจะพบว่าอุณหภูมิเฉล่ียรายเดือนสูงกว่าค่าปกติทุกเดือน โดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายน และ
ธนั วาคม ซงึ่ เปน็ ฤดกู าลท่องเทย่ี วในหลายพื้นท่ี

129

ภาพที่ 3.16 อณุ หภูมิของประเทศไทยท่ีตา่ งจากค่าปกติ

ที่มา: สานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม (2560)

ในสว่ นของอุณหภูมิที่เพ่ิมสูงข้ึนจากค่าปกตินี้ แม้จะมีค่าไม่สูงมากนักและไม่น่าจะมีนัยสาคัญในการส่งผล
กระทบต่อการท่องเที่ยวทางน้า แต่ความผดิ ปกติดังกล่าวก็มีแนวโน้มท่ีจะเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ อย่างต่อเน่ือง ซึ่งในระยะ
ยาวอาจส่งผลกระทบต่อการทอ่ งเท่ียวในประเทศได้ ทง้ั นศี้ นู ย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
อ้างถึงใน ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2554) ได้ศึกษาประเมินความเส่ียงจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศของคลัสเตอร์ทางการท่องเที่ยว 14 กล่มุ จังหวดั

ตารางท่ี 3.10 การวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศและความเปราะบางของคลัสเตอร์
ทางการทอ่ งเท่ียว

ความเส่ยี งต่อ ความเปราะบาง สรปุ
ภูมิอากาศ ของคลสั เตอร์
คลสั เตอรท์ างการท่องเท่ยี ว ลกั ษณะ กิจกรรม ทศวรรษ ทศวรรษ
ทศวรรษ ทศวรรษ ทาง การ 2020 2050
น้าพุร้อน 2020 2050 ภูมิศาสตร์ ท่องเทีย่ ว
การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศและผจญภยั
อารยธรรมล้านนา ตา่ สงู สูง สูง ปาน สงู
มรดกโลกเชอ่ื มโยงการท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศ กลาง
นเิ วศป่าร้อนชนื้ สงู สงู
ต่า สูง ปาน สงู
ตา่ สูง กลาง

ตา่ สูง ปานกลาง ปานกลาง ตา่ ตา่

ต่า สงู สูง สูง ต่า ปาน
กลาง

ต่า ปาน ปาน สูง
กลาง กลาง

130

ความเสยี่ งตอ่ ความเปราะบาง สรปุ
ภูมอิ ากาศ ของคลัสเตอร์

คลัสเตอรท์ างการทอ่ งเทย่ี ว ทศวรรษ ทศวรรษ ลกั ษณะ กิจกรรม ทศวรรษ ทศวรรษ
2020 2050 ทาง การ 2020 2050

ภูมิศาสตร์ ท่องเทย่ี ว

วิถีชีวติ ลุ่มแมน่ า้ ภาคกลาง ต่า ต่า ปานกลาง ปานกลาง ปาน สูง
กลาง

เลียบฝงั่ แม่น้าโขง ต่า ตา่ ต่า ปานกลาง ปาน ปาน
กลาง กลาง

เสน้ ทางไดโนเสาร์ ต่า ตา่ ตา่ ตา่ ตา่ ตา่

มหัศจรรยเ์ ส้นทางบุญ ตา่ ต่า ตา่ ต่า ตา่ ต่า

อารยธรรมอิสานใต้ ตา่ ต่า ต่า ตา่ ต่า ตา่

เส้นทางอญั มณแี ละการทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร ตา่ สงู สูง ต่า ต่า สงู

Active beach ตา่ สงู สงู สงู ปาน สูง
กลาง

Royal coast ต่า ปาน สูง สงู ปาน สูง
กลาง กลาง

มหัศจรรย์สองสมทุ ร ตา่ ตา่ สูง สูง ปาน สูง
กลาง

ท่ีมา: ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552) อ้างถึงใน ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย (2554), ไม่สามารถระบุจังหวัดเน่ืองจากเป็นแนวทางการแบ่งเชิงนโยบาย จึงไม่สามารถระบุจังหวัด

ได้อย่างชดั เจน

สาหรับกลุ่มคลัสเตอร์ทางด้านการท่องเที่ยวจากตาราง จะเห็นได้ว่าโดยสรุปแม้ว่าในทศวรรษ 2020
ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโดยส่วนใหญ่ยังไม่อยู่ในระดับสูง แต่ในทศวรรษ 2050 ปัญหาการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศจะสง่ ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเทย่ี วสงู ยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ พิจารณาในประเด็นของกลุ่ม
ท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทางน้า ได้แก่ กลุ่มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและผจญภัย กลุ่มวิถีชีวิตลุ่มแม่น้า
ภาคกลาง กลุ่ม Active beach กลุ่ม Royal coast และ กลุ่มมหัศจรรย์สองสมุทร จะเห็นได้ว่าในทศวรรษ 2050
ทกุ กลุม่ จะประสบปญั หาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศในระดบั ท่ีสงู ท้งั ส้ิน

อย่างไรก็ตามเม่ือพิจารณาผลกระทบของภาวะโลกร้อนในประเด็นเดียวกันกับท่ีได้ยกตัวอย่างผลกระทบ
ในต่างประเทศไปขา้ งต้นแลว้ จะพบวา่ ประเดน็ ปจั จยั สิ่งแวดลอ้ มในแต่ละประเดน็ มสี ถานการณ์ล่าสุดดังนี้

131

3.3.1 การเปลีย่ นแปลงการตกของฝนและภาวะความแห้งแล้งของประเทศไทย

การคาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงปริมาณฝนสาหรับประเทศไทยเป็นเร่ืองท่ีทาได้ค่อนข้างยาก เน่ืองจาก
บางปีปริมาณฝนจะสูงกว่าปกติมาก ในขณะที่บางปีปริมาณฝนต่ากว่าปกติมากเช่นเดียวกัน แต่หากมองเฉพาะ
ปรมิ าณน้าฝนในแตล่ ะชว่ งฤดกู าลจากการเปล่ียนแปลงปริมาณน้าฝนในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา พบว่า ประเทศไทยจะ
มปี ริมาณฝนสงู กวา่ ค่าปกตติ ดิ ตอ่ กนั ทุกปใี นช่วงฤดรู ้อน ส่วนช่วงฤดหู นาว และฤดฝู นจะผนั แปรไปในแตล่ ะปี

ภาพที่ 3.17 ปรมิ าณฝนของประเทศไทยทตี่ ่างจากคา่ ปกติ

ที่มา: สานกั งานนโยบายและ
แผนทรพั ยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดลอ้ ม (2560)

การเปล่ียนแปลงการตกของฝนมีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับฤดูการท่องเท่ียว ทั้งนี้ฝนที่ตกชุกเป็นอุปสรรค
ต่อกิจกรรมการท่องเท่ียวโดยเฉพาะการท่องเท่ียวทางน้า อีกท้ังยังเสี่ยงต่อการเกิดน้าป่าไหลหลากและดินโคลน
ถล่ม นอกจากน้ีฤดูมรสุมที่ผันแปรไปยังเป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยวทางทะเลเน่ืองจากคล่ืนลมท่ีรุนแรงด้วย
ดังนั้นสถานการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีทาให้ประเทศไทยมีฝนตกชุกมากขึ้น และช่วงฤดูมรสุมที่
ยาวนานมากข้ึน จะทาให้ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสมกับการท่องเที่ยว (low season) มีระยะเวลายาวนานยิ่งข้ึนอย่าง
หลกี เลยี่ งไม่ได้

ในทางกลับกันฤดูแลง้ ท่ียาวนานกว่าปกติในบางปี ก็เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยวทางน้าด้วยเช่นเดียวกัน
ลาน้าแห้งลงย่อมไม่สามารถประกอบกิจกรรมการท่องเท่ียวประเภทการล่องแก่ง หรือล่องเรือชมทิวทัศน์สองฝ่ัง
ของลาน้าได้ นอกจากนี้น้ายังเป็นทรัพยากรสาคัญของการท่องเที่ยว การขาดแคลนน้าจะทาให้ที่พักของ
นักท่องเท่ียวท้ังโรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ ประสบปัญหาในการรับรองนักท่องเที่ยว อีกทั้งกิจการอื่น ๆ ท่ี
เก่ียวข้องก็จะประสบปัญหาตามไปด้วย

ดังนน้ั การเปล่ยี นแปลงการตกของฝนท่มี ีทัง้ การมปี ริมาณฝนท่สี ูงเกินกว่าค่าปกติ การมีฤดูมรสุมท่ียาวนาน
ย่ิงข้ึน และการเกิดภาวะแห้งแล้งย่อมเป็นอุปสรรคต่อการจัดการท่องเท่ียว โดยเฉพาะการท่องเท่ียวทางน้า และ
การทอ่ งเที่ยวทางทะเล

132

3.3.2 การเปลย่ี นแปลงวงรอบและความถี่ในการเกดิ ภัยพิบัติทร่ี ุนแรงของประเทศไทย
ภัยพิบัติท่ีรุนแรงหลายประเภท เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะการ
เกดิ พายุหมนุ ท้งั นีจ้ ากสถติ ิย้อนหลังจะเหน็ ได้วา่ จากปี พ.ศ. 2508 จานวนพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศ
ไทยมแี นวโน้มที่จะลดลง แต่หากพิจารณาในรายละเอียดจะเห็นได้ว่าความถ่ีในการเกิดพายุหมุนท่ีมีความรุนแรงมี
แนวโน้มที่จะเกิดเพิ่มมากขึ้น ดังเช่นการเกิดพายุใต้ฝุ่นเคล่ือนเข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2532 หรือการเกิดพายุ
โซนรอ้ นท่ีมีแนวโนม้ เพ่มิ มากขน้ึ ดังปรากฏในภาพ

ภาพที่ 3.18 จ้านวนพายหุ มุนเขตร้อนทีเ่ คลอ่ื นเขา้ สปู่ ระเทศไทย

ท่มี า: สานักงานนโยบายและแผน
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดลอ้ ม (2560)

สาหรับภัยพบิ ตั ิประเภทอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้แก่ การเกิดดินถล่ม ดิน
ไหล ดนิ ทรุด และตลิง่ ทรุดตัว จะเหน็ ได้ว่า จานวนคร้ังของการเกิดภัยพิบัติมีแนวโน้มลดลงจากปี พ.ศ. 2554 แต่ก็
มีแนวโน้มท่ีจะเพม่ิ ขนึ้ ตามวงรอบซง่ึ ตอ้ งตดิ ตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ตอ่ ไป

133

ตารางท่ี 3.11 เหตภุ ยั พิบัติธรรมชาตทิ ่เี กิดขึนในประเทศไทยในชว่ ง พ.ศ. 2554-2558

เหตุภยั พิบัติ 2554 ปี พ.ศ. 2558 รวม
2555 2556 2557

ดินถล่ม 11 4 5 13 8 41
ดนิ ไหล
ดินทรดุ 93 28 10 2 – 133
ตลิ่งทรุดตวั
8 8 – – – 16

2 9 1 1 2 15

ท่ีมา: กรมทรัพยากรธรณี (2558) อา้ งถึงใน สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (2560)

เหตุการณ์ดินไหลหรือดินถล่มเกิดข้ึนจากฝนที่ตกต่อเนื่อง ซึ่งในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือน
กันยายน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยเกิดเหตุดินถล่มถึง 13 แห่งใน 9 จังหวัด ส่วนภัยพิบัติในเร่ืองของดินทรุดและ
ตลิ่งทรุด (Bank Erosion) เกิดจากการเปล่ียนแปลงของระดับน้าในแม่น้า ทาให้เกิดความแตกต่างของระดับน้าใต้
ดนิ กับน้าในแมน่ ้า ดังนนั้ ในช่วงทร่ี ะดบั นา้ ในแม่นา้ ลดตา่ ลงมาก ๆ จึงมกั เกิดเหตุการณ์ดินทรุดหรือตล่ิงทรุด ดังเช่น
เหตุการณ์ทรุดตัวของตล่ิงริมแม่น้าป่าสักบริเวณอาเภอท่าหลวง และอาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เม่ือ
วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ท่ีเกิดการทรุดตัวของตลิ่งริมแม่น้าเป็นความยาวถึง 50 เมตร ลึก 2 เมตร กว้าง 3
เมตร หรอื การทรดุ ตัวของตลิ่งทบี่ า้ นหนองผักบุ้ง หมู่ 1 ตาบลนายม อาเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เม่ือ
วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ซ่ึงการทรุดตัวลึกเข้าถึงเสาเรือนของบ้านเรือนประชาชนด้วย (สานักงานนโยบาย
และแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560) ดังปรากฏในภาพ

134

ภาพที่ 3.19 เหตุการณต์ ลิ่งทรดุ ตวั ทบ่ี ้านหนองผักบุ้ง หมู่ 1 ตา้ บลนายม อ้าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวดั
เพชรบูรณ์

ทม่ี า: สานกั ขา่ วไอ.เอน็ .เอ็น. (2558)

ดังนั้นทั้งพายุ ดินถล่ม และตลิ่งทรุดตัว ล้วนทาให้เกิดปัญหากับกับการท่องเที่ยวทางน้าท้ังสิ้น การ
เปลีย่ นแปลงวงรอบและความถี่ในการเกดิ ภยั พบิ ัติจึงเปน็ ปญั หาทตี่ ้องตดิ ตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ ตอ่ ไป

3.3.3 การเพิม่ ขึนของระดับน้าทะเลของประเทศไทย

ในส่วนของประเทศไทย ช่วงระหวา่ งปี พ.ศ. 2550-2558 คา่ ระดับนา้ ทะเลปานกลางเฉล่ียมีแนวโน้มสูงขึ้น
ดังปรากฏในภาพ

ภาพท่ี 3.20 คา่ เฉลี่ยระดบั นา้ ทะเลปานกลาง ณ สถานีตรวจวัดระดับนา้ เกาะหลกั จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์

ทม่ี า: กรมอุทกศาสตร์ กองทพั เรือ (2559)
อ้างถึงใน สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(2560)

พ.ศ.
หมายเหต:ุ พ.ศ. 2559 เป็นข้อมลู เฉล่ยี ช่วงเดอื นมกราคม-พฤษภาคม


8 อันดับ ราชาไดโนเสาร์เจ้าแห่งนักล่าในแต่ละภูมิภาค


สั่งซื้อ Deva Ssd ได้ที่
❤ Lazada : http://bit.ly/2OnEd3f
❤ Shopee : http://bit.ly/2PSXgna
❤ JD Central : http://bit.ly/2Cpmmax
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ฝากติดตามผ่าน FB : https://www.facebook.com/AnimalPresents/
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
(ร่วมสนับสนุนรายการ) Donate ได้ทาง :
True Wallet : 0942634475
Paypal : https://www.paypal.me/AnimalPresents
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจักรวาล ที่ทำให้คุณเปลี่ยนความคิดว่าเผ่าพันธุ์มนุษย์ไม่ได้ยิ่งใหญ่อย่างที่คุณคิด
https://youtu.be/Q0ax_WMr4f4
5 หายนะโลกครั้งใหญ่ของโลกที่เกือบนำมาสู่จุดจบของมวลมนุษยชาติ
https://youtu.be/6BXeeBXNPLk
ความจริงเกี่ยวกับอวกาศและจักรวาล ที่ทำให้รู้ว่าคุณยังรู้จักอวกาศน้อยไป https://youtu.be/QjIZ2deKipk
10 อันดับ สัตว์ยุคดึกดำบรรพ์ที่พวกคุณอาจไม่รู้จักพวกมันมาก่อน
https://youtu.be/Sl3TVCiRew
กำเนิดโลก และ วันสิ้นโลก ทฤษฎีจากนักวิทยาศาสตร์ระดับโลก :https://youtu.be/8RPEPbVexgA
5 อันดับ สถานที่สุดหลอนจากทั่วโลก สำหรับคนที่ชอบเรื่องผี
https://youtu.be/PsWUoQQ7VT4

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

8 อันดับ ราชาไดโนเสาร์เจ้าแห่งนักล่าในแต่ละภูมิภาค

ประวัติของทาร์โบซอรัส #ไดโนเสาร์


ประวัติของทาร์โบซอรัส #ไดโนเสาร์

10 อันดับ ไดโนเสาร์ที่อันตรายที่สุด น่ากลัวอยู่นะ


เด็กๆ หรือผู้ใหญ่หลายคนคงชอบ เจ้าไดโนเสาร์ตัวใหญ่จากสาระคดีหรือภาพยนต์เรื่องจูราสสิค พาร์ค กันอย่างแน่นอน แต่คุณรู้หรือไม่ว่า ไดโนเสาร์ที่กินเนื้อ ตัวใหญ่ และอันตรายที่สุดมีตัวไหนบ้าง ? ห้ามพลาดชมในวิดีโอนี้กันนะคะ
10.Tarbosaurus Bataar
9.Ankylosaurus
8.Mapusaurus
7.Velociraptor
6.Allosaurus
5.Utahraptor
4.Carcharodontosaurus
3.Giganotosaurus
2.Tyrannosaurus Rex
1.Spinosaurus
สามารถชมวิดีโออื่นๆได้เลย :
10 อันดับ สัตว์ที่มีพิษต่อยเจ็บปวดที่สุดในโลก
https://www.youtube.com/watch?v=ldn_X2_mgXo
10 อันดับ สายพันธุ์สุนัขที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
https://www.youtube.com/watch?v=6yQUcZm8a04
10 อันดับ สุดยอดสัตว์ที่น่ารักที่สุดในโลก
https://www.youtube.com/watch?v=bmnPmpIgUNs
อย่าลืมเข้ามารับชมวิดีโอใหม่ๆ ของเราทุกสุดสัปดาห์ กดไลค์ กดติดตาม และแสดงความคิดเห็นวิดีโอของเรา
ถ้าคุณชื่นชอบวิดีโอนี้ อย่าลืมแสดงความคิดเห็น กด like และกดติดตามกันได้นะค่ะ
ขอบคุณที่รับชมวิดีโอของเรา TopSib Thailand

สามารถติดตามที่เพจ!! :
Facebook: http://bit.ly/2oQjyIR
Twitter: http://bit.ly/2o9LY2l

Subscribe: http://bit.ly/2oLULIE
For copyright matters please contact us at: [email protected]

10 อันดับ ไดโนเสาร์ที่อันตรายที่สุด น่ากลัวอยู่นะ

PteroSaur รวมสายพันธุ์ \”เทโรซอร์\” สัตว์เลื้อยคลานจ้าวเวหาแห่งยุคดึกดำบรรพ์


▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ฝากติดตามผ่าน FB : https://www.facebook.com/AnimalPresents/
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
(ร่วมสนับสนุนรายการ) Donate ได้ทาง :
True Wallet : 0942634475
Paypal : https://www.paypal.me/AnimalPresents
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับจักรวาล ที่ทำให้คุณเปลี่ยนความคิดว่าเผ่าพันธุ์มนุษย์ไม่ได้ยิ่งใหญ่อย่างที่คุณคิด
https://youtu.be/Q0ax_WMr4f4
5 หายนะโลกครั้งใหญ่ของโลกที่เกือบนำมาสู่จุดจบของมวลมนุษยชาติ
https://youtu.be/6BXeeBXNPLk
ความจริงเกี่ยวกับอวกาศและจักรวาล ที่ทำให้รู้ว่าคุณยังรู้จักอวกาศน้อยไป https://youtu.be/QjIZ2deKipk
10 อันดับ สัตว์ยุคดึกดำบรรพ์ที่พวกคุณอาจไม่รู้จักพวกมันมาก่อน
https://youtu.be/Sl3TVCiRew
กำเนิดโลก และ วันสิ้นโลก ทฤษฎีจากนักวิทยาศาสตร์ระดับโลก :https://youtu.be/8RPEPbVexgA
5 อันดับ สถานที่สุดหลอนจากทั่วโลก สำหรับคนที่ชอบเรื่องผี
https://youtu.be/PsWUoQQ7VT4

PteroSaur รวมสายพันธุ์ \

เกร็ดความรู้ตอนที่ 10 ทาร์โบซอรัส ทรราชแห่งเอเชีย


เกร็ดความรู้ตอนที่ 10 ทาร์โบซอรัส ทรราชแห่งเอเชีย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ท่อง โลก ไดโนเสาร์ ตอน ทา ร์ โบ ซอ รัส

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *