[Update] 12 บุคคลสำคัญผู้อยู่เบื้องหลังประวัติศาสตร์ กล้องถ่ายรูป | รูปการ์ตูนประวัติศาสตร์ – Australia.xemloibaihat

รูปการ์ตูนประวัติศาสตร์: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

กล้องถ่ายรูป เป็นอีกสิ่งประดิษฐ์ที่มีพัฒนาต่อเนื่องมานานกว่าพันปีและจนถึงปัจจุบันก็ยังไม่หยุดพัฒนาตั้งแต่หลักการทำงานของกล้องรูเข็มถูกบันทึก มนุษย์ก็เริ่มเสาะหาวิธีการเก็บภาพความทรงจำจากแสงให้อยู่กับเรานานเท่านาน Sarakadee Lite ชวนย้อนกลับไปมองประวัติศาสตร์กล้องถ่ายรูปอีกครั้ง ผ่าน 12 บุคคลสำคัญของโลกผู้อยู่เบื้องหลังการกำเนิดกล้อง

อิบน์ อัลฮัยษัม 

ผู้บันทึกหลักการ “กล้องรูเข็ม”

หลักการทำงานของกล้องรูเข็มนั้นมีบันทึกมาตั้งแต่ ค.ศ.1000 โดย อิบน์ อัล-ฮัยษัม (Ibn al-Haytham) หรือ อัลฮะเซน (Alhazen) นักวิทยาศาสตร์และนักปราชญ์ชาวอาหรับ เขาเป็นบุคคลแรกที่บันทึกถึงหลักการทำงานของกล้องทาบเงา (Camera Obscura) โดยเขาได้เล่าถึงหลักการการทำงานของห้องมืดซึ่งเจาะรูเล็ก ๆ ให้แสงทะลุผ่านไปที่ผนังตรงข้าม สิ่งที่ปรากฏคือภาพของทิวทัศน์ภายนอกที่ฉายเป็นภาพกลับหัวบนผนัง

โยฮันเนส เคปเลอร์

ริเริ่มคำว่า “Camera”

โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบว่าดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่ประดิษฐ์กระโจมกล้องรูเข็มสำเร็จเมื่อ ค.ศ.1620 ซึ่งเขาได้นำเลนส์และกระจกสะท้อนแสงติดที่ยอดกระโจม ฉายภาพลงมาที่กระดานวาดภาพ และตั้งชื่อกระโจมนี้ว่า Camera Obscura ซึ่งเป็นภาษาละติน โดยคำว่า Camera หมายถึงห้องที่มีหลังคาโค้ง ส่วน Obscura แปลว่ามืด และแน่นอนว่านี่เป็นที่มาของคำว่า Camera หมายถึง กล้องถ่ายภาพ ที่ใช้กันมาถึงปัจจุบัน

โยฮัน ซาห์น

ออกแบบกล้อง ออบสคิวรา

หลังจากหลักการที่ทำให้เกิดภาพได้ถูกคิดค้นขึ้นเมื่อ ค.ศ.1685 โยฮัน ซาห์น (Johann Zahn) ก็ได้เป็นผู้ออกแบบกล้องออบสคิวราขนาดเล็กที่มีกระบอกเลนส์ด้านหน้า และกระจกสะท้อนแสง 45 องศาด้านหลังนับเป็นกล้องที่มีลักษณะใกล้เคียงกับ กล้องถ่ายรูป รุ่นต่อมาที่ประดิษฐ์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19

โจเซฟ นีเซฟอร์ เนียปส์

ภาพถ่ายภาพแรกของโลก

ค.ศ. 1814 ภาพถ่ายภาพแรกของโลกถือกำเนิดขึ้นโดย โจเซฟ นีเซฟอร์ เนียปส์ (Joseph Nicéphore Niépce) ชาวฝรั่งเศส เขาเป็นคนแรกที่หาวิธีคงสภาพภาพถ่ายสำเร็จ โดยเขาได้ใช้แผ่นโลหะพิวเตอร์ (ดีบุกผสม) ฉาบยางมะตอยธรรมชาติ และติดตั้งในกล้องออบสคิวรา และเปิดกล้องให้แสงผ่านนานถึง 8 ชั่วโมงก่อนนำไปล้างด้วยน้ำมันจากดอกไม้ ทำให้ได้ภาพโพซิทิฟ (Positive) ภาพขาวดำ และสามารถคงสภาพของภาพถ่ายได้เป็นครั้งแรกของโลก โจเซฟตั้งชื่อกระบวนการนี้ว่าเฮลิโอกราฟี (Heliography) แปลว่า ภาพวาดโดยดวงอาทิตย์

หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์

เทคนิคการถ่ายภาพ “ดาแกโรไทป์”

หลังจากสารเคมีสำหรับบันทึกภาพถูกคิดค้นขึ้น หลุยส์ ดาแกร์ (Louis Daguerre) หรือชื่อเต็ม หลุยส์ ฌาคส์ มังเด ดาแกร์ (Louis Jacque Mande Daguerre) ศิลปินและนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสได้จับมือกับ โจเซฟนีเซฟอร์ เนียปส์ ร่วมกันพัฒนาสารเคมีที่ใช้ในการบันทึกภาพให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น นั่นคืออยู่คงทนและถ่ายภาพง่ายขึ้น โดยใช้แผ่นโลหะทองแดงอาบซิลเวอร์ไอโอไดด์ เป็นแผ่นรับภาพในกล้อง และใช้เวลาเปิดรับแสงเพียง 30 นาทีจากเดิมคือ 8 ชั่วโมง แล้วใช้ไอปรอททำให้เกิดภาพ จากนั้นใช้สารละลายเกลือแกงเพื่อรักษาภาพให้คงทน นับเป็นวิธีถ่ายภาพซึ่งทำได้สะดวกและได้รับความนิยมต่อมา แต่มีเรื่องเล่าว่าระหว่างการทำงานเนียปส์เสียชีวิตไปเสียก่อน เป็นเหตุให้ดาแกร์ตั้งชื่อกระบวนการถ่ายภาพตามชื่อของตนเองว่า “ดาแกริโอไทป์” (Daguerreotype)

โจเซฟ เพ็ตซ์วาล

ประดิษฐ์เลนส์ถ่ายภาพ Portrait

ค.ศ. 1840 โจเซฟ เพ็ตซ์วาล (Joseph Petzval) นักประดิษฐ์กล้องชาวฮังการีได้ประดิษฐ์เลนส์ถ่ายภาพสำหรับพอร์เทรตโดยใช้เลนส์ 4 ชิ้นประกอบเข้าด้วยกัน เพื่อลดความผิดเพี้ยนของภาพจากเลนส์แบบเดิมที่เป็นแบบชิ้นเดียว ซึ่งเลนส์ 4 ชิ้นได้รับความนิยมต่อมาเกือบ 1 ศตวรรษ

จอร์จ อีสต์แมน

ผู้ให้กำเนิด กล้องโกดัก

จอร์จ อีสต์แมน (George Eastman) ชาวอเมริกัน เป็นผู้พลิกโฉมให้ การถ่ายภาพ เป็นเรื่องง่ายและกลายเป็นงานอดิเรกของคนทั่วโลก ด้วยผลงานการคิดค้นและประดิษฐ์ฟิล์มถ่ายภาพแบบม้วน และกล้องถ่ายภาพยี่ห้อโกดัก (Kodak) ซึ่งมีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา

อีสต์แมนเปิดตัวฟิล์มเซลลูลอยด์โปร่งแสงของเขาครั้งแรกเมื่อค.ศ. 1889 ส่วนชื่อ Kodak เกิดขึ้นเมื่อค.ศ. 1888 พร้อมกับการวางจำหน่ายกล้องโกดัก เป็นกล้องถ่ายรูปกล่องไม้น้ำหนักเบา (Box Camera) มีฟิล์มมาให้ 100 ภาพ และที่มีสโลแกนว่า “You press the button – we do the rest.” กล้องถ่ายภาพ โกดักรุ่นแรกบรรจุฟิล์มเซลลูลอยด์เอาไว้ เมื่อผู้ใช้ถ่ายภาพจนหมดม้วนแล้วก็นำมาส่งให้ทางโกดักจัดการต่อให้ เป็นบริการแบบครบวงจร ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของการถ่ายภาพแบบ Snapshot ในปัจจุบัน

อีกหนึ่งผลงานสำคัญของอีสต์แมน คือการประดิษฐ์ฟิล์มม้วนออกวางจำหน่ายได้สำเร็จในปี ค.ศ. 1889 ซึ่งมีส่วนช่วยให้ โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) พัฒนากล้องถ่ายภาพยนตร์เครื่องแรกได้สำเร็จ

ค.ศ. 1900 เขาได้เปิดตัวกล้อง BROWNIE ที่มีราคาวางจำหน่ายเพียง 1 ดอลลาร์สหรัฐ และใช้ฟิล์มที่ขายในราคา 15 เซนต์ ซึ่งผลิตภัณฑ์นี้ทำให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึง กล้องถ่ายรูป ได้และนิยมใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น

ออสการ์ บาร์นัก

คิดค้นกล้อง Leica I ขนาด 35 มม.

ค.ศ.1913 ออสการ์ บาร์นัก (Oskar Barnack) เริ่มคิดประดิษฐ์ กล้องถ่ายรูป ที่มีขนาดเล็กลงด้วยการลดขนาดฟิล์มถ่ายรูปให้เหลือความกว้างเพียง 35 มม.สำหรับถ่ายภาพยนตร์ และต้องใช้เลนส์ที่มีคุณภาพสูงเพื่อเก็บรายละเอียดภาพไว้ในฟิล์ม จากนั้นนำไปอัดขยายเป็นภาพขนาดใหญ่ได้ภายหลัง ซึ่งต่อมาในปีค.ศ. 1925 กล้องถ่ายรูปที่ใช้ฟิล์มขนาด 35 มม.เลื่อนฟิล์มตามแนวนอนโดยใช้เลนส์ฟิกซ์ขนาด 50 มม. ได้รับการผลิตออกจำหน่ายครั้งแรก ในชื่อ Leica I และนับแต่นั้นมาฟิล์ม 35 มม. ก็ได้รับความนิยมและกลายเป็นมาตรฐานของกล้องถ่ายรูปประเภทฟิล์มมาจนถึงปัจจุบัน

วิลเลียม เฮอร์เชล

เริ่มใช้คำว่า “Photography”

ทุกอย่างย่อมมีที่มา และคำว่า Photography ก็เช่นกัน คำนี้มาจาก วิลเลียม เฮอร์เชล (William Herschel) นักวิทยาศาสตร์ผู้โด่งดัง โดยในปี ค.ศ.1839 เขาได้เขียนบทความโดยใช้คำว่า Photography หมายถึง การถ่ายภาพ และทำให้ต่อมาคำนี้เป็นที่ยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน

เฟรเดอริก สกอตต์ อาร์เชอร์

ค้นพบเทคนิค Wet Plate

เฟรเดอริก สกอตต์ อาร์เชอร์ (Frederick Scott Archer) ค้นพบการถ่ายภาพโดยใช้แผ่นกระจกเปียกสั่นไหวแสง เรียกว่า เพลตเปียก (Wet Plate) ใช้เวลาถ่ายที่เร็วกว่าและรายละเอียดของภาพที่มากกว่าการถ่ายรูปแบบเดิมที่เรียกว่าดาแกโรไทป์ (Daguerreotype)

ดร.ริชาร์ด ลีช แมดด็อกซ์

ค้นพบเทคนิค Dry Plate

ดร.ริชาร์ด ลีช แมดด็อกซ์ (Dr.Richard Leach Maddox) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่พัฒนา “เพลตแห้ง” (Dry Plate) ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกว่าเพลตเปียกของ เฟรเดอริก สกอตต์ อาร์เชอร์ โดยเพลตแห้งใช้เจลาตินผสมซิลเวอร์โบรไมด์เคลือบแผ่นกระจกทำให้การถ่ายภาพสะดวกขึ้นเพราะไม่ต้องล้างภาพทันทีที่ถ่ายเสร็จเหมือนเพลตเปียกและทำให้ในเวลาต่อมาสามารถสร้าง กล้องถ่ายรูป เป็นกล้องที่ถือได้ด้วยสองมือ พกพาสะดวกเรียกว่า Box Camera

เอ็ดวิน แลนด์

ผู้คิดค้นกล้องโพลารอยด์

ถ้าไม่มี เอ็ดวิน แลนด์ (Edwin Land) กล้องแบบสำเร็จรูปที่ถ่ายปุ๊บแล้วได้ภาพเลยหรือที่เรียกว่า โพลารอยด์ จะไม่ถือกำเนิดขึ้น โดยกล้องรุ่นแรกที่อัดภาพออกมาให้เองอัตโนมัติในเวลาไม่ถึงนาที คือ Polaroid Model 95 ซึ่งแม้จะมีราคาสูงในช่วงแรก แต่ก็มีการพัฒนาในรุ่นต่อ ๆ มาสำหรับตลาดทั่วไป และทำให้โพลารอยด์กลายเป็นหนึ่งในกล้องที่เคยมียอดขายสูงสุด

[NEW] 15000+ ประวัติศาสตร์ไทย รูปภาพ | รูปการ์ตูนประวัติศาสตร์ – Australia.xemloibaihat

Permanent premium will be removed soon. Login and catch it.

Thank you for your feedback!

Can’t find an account matching the email and password you entered. Please check your email and password and try again.

Successfully sent!

Thank you for your feedback,
we will contact you as soon as possible.


Okay


ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น


ประวัติศาสตร์ไทย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น อย่างละเอียดที่สุด!!

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ตอนที่ 2 แผ่นดินพ่อขุนรามคำแหงมหาราช – เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยฯ


🎯📢📣รายการ\”เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยกับสถาบันพระมหากษัตริย์\”
🚉 การผจญภัยครั้งยิ่งใหญ่ ของเมฆ ตะวัน และผองเพื่อน🧒👧🐈‍⬛️
🎬 ตอน แผ่นดินพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
👉👉ออกอากาศทางช่อง DLTV และดิจิตอลทีวี
🧓 ถ้าไม่เชื่อปู่ต้องไปดูเองนะ ฮะฮ่าฮ้า…
ชมย้อนหลังได้ที่…
Website👉 https://www.dltv.ac.th/channels/tv/tv…
Facebook👉 https://web.facebook.com/KRUTUDLTV
เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทย ปากกาขนนก ปู่ศร เมฆ ตะวัน แก่นแก้ว เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านการ์ตูน DLTV เมฆตะวันและผองเพื่อน TheDiary การ์ตูนทะลุมิติ การ์ตูนแอนิเมชัน การ์ตูน3D

ตอนที่ 2 แผ่นดินพ่อขุนรามคำแหงมหาราช - เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยฯ

ตอนที่ 21 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช – เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยฯ


🎯📢📣รายการ\”เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยกับสถาบันพระมหากษัตริย์\”
🚉 การผจญภัยครั้งยิ่งใหญ่ ของเมฆ ตะวัน และผองเพื่อน🧒👧🐈‍⬛️
🎬 ตอน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
👉👉ออกอากาศทางช่อง DLTV และดิจิตอลทีวี
🧓 ถ้าไม่เชื่อปู่ต้องไปดูเองนะ ฮะฮ่าฮ้า…
ชมย้อนหลังได้ที่…
Website👉 https://www.dltv.ac.th/channels/tv/tvdetail/56
Facebook👉 https://web.facebook.com/KRUTUDLTV
เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทย ปากกาขนนก ปู่ศร เมฆ ตะวัน แก่นแก้ว เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านการ์ตูน DLTV เมฆตะวันและผองเพื่อน TheDiary การ์ตูนทะลุมิติ การ์ตูนแอนิเมชัน การ์ตูน3D

ตอนที่ 21 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช - เดอะไดอารี่ บันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทยฯ

ตากสิน


ตากสิน

Маша и Медведь (Masha and The Bear) – Маша плюс каша (17 Серия)


День Варенья https://youtu.be/jHHP8uXO4y8
Все таланты Маши https://youtu.be/Qpm9FI1uUDQ
Поздравление от Маши https://youtu.be/JeQTGnaRxs
В гостях у Маши https://youtu.be/BL50xRTnHTQ
Маша и Медведь Большая стирка https://youtu.be/LZjO1OR7bw
Подпишись на Машу в Инстаграм: http://instagram.com/mashaandthebear/
http://youtube.com/MashaBearEN now watch in english!
http://mashabear.com – Masha and The Bear official website
Masha And The Bear Facebook http://facebook.com/MashaAndTheBear

RU: МашаиМедведь – Маша плюс каша (Серия 17)
Медведь играет в шашки. Маша прерывает игру просьбой её покормить. Медведь готовит ей кашу, которая Маше не понравилась. Медведь обиделся и ушёл играть в шашки в лес. Маша решила сварить свою кашу, которая вскоре очень сильно разбухла. И Маша, и Медведь, и все обитатели леса будут долгодолго вспоминать этот необыкновенный день.
МашаКаша лучший мультфильм длядетей
EN: MashaandThe Bear Recipe for disaster (Episode 17)
The Bear plays checkers. Masha interrupts him asking to feed her. The Bear cooks some porridge for her. But Masha doesn’t like it. The Bear goes off in a huff. Masha decides to cook porridge herself. But soon the porridge swells out. All the forest inhabitants will remember this day for long…

http://goo.gl/UI7Ed7 watch all episodes

Маша и Медведь (Masha and The Bear) - Маша плюс каша (17 Серия)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ รูปการ์ตูนประวัติศาสตร์

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *