[Update] 20 นักคณิตศาสตร์ของโลก | ก่อนคริสต์ศักราช – Australia.xemloibaihat

ก่อนคริสต์ศักราช: คุณกำลังดูกระทู้

  • ปีทาโกรัส : Pythagoras

 

เกิด        582 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซามอส (Samos) ประเทศกรีซ (Greece)
เสียชีวิต 507 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองเมตาปอนตัม (Metapontum)
ผลงาน   – สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน (Pythagorean Table)
             – ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า “ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
                เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก”
             – สมบัติของแสง และการมองวัตถุ
             – สมบัติของเสียง

  •  อาร์คิมีดีส : Archimedes

 

  
เกิด        287 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
เสียชีวิต 212 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
ผลงาน   – กฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) ที่กล่าวว่า “ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมลงในน้ำย่อมเท่ากับปริมาตร
               ของน้ำที่ถูกแทนที่ด้วยวัตถุ” ซึ่งกฎข้อนี้ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการหาความถ่วงจำเพาะของวัตถุ
             – ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดน้ำ และล้อกับเพลา
             – อาวุธสงคราม ได้แก่ เครื่องเหวี่ยงหิน กระจกเว้ารวมแสง และเครื่องปล่อยท่อนไม้

 

  • ยูคลิด (Euclid)

        ยูคลิดเป็นนักคณิตศาสตร์ที่สำคัญ และเป็นที่รู้จักกันดี ยูคลิดเกิดที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอิยิปต์ เมื่อราว 365 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อมีชีวิตอยู่จนกระทั่งประมาณปี 300 ก่อนคริสตกาล สิ่งที่มีชื่อเสียงคือผลงานเรื่อง T**lements
     หลักฐานและเรื่องราวเกี่ยวกับตัวยูคลิดยังคงสับสน เพราะมีผู้เขียนไว้หลายรูปแบบ อย่างไรก็ตามผลงานเรื่อง T**lements ยังคงหลงเหลืออยู่จนถึงทุกวันนี้ จากหลักฐานที่สับสนทำให้สันนิษฐานที่เกี่ยวกับยูคลิดมีหลายแนวทาง เช่น ยูคลิดเป็นบุคคลที่เขียนเรื่อง T**lement หรือยูคลิดเป็นหัวหน้าทีมนักคณิตศาสตร์ที่อาศัยอยู่ที่อเล็กซานเดรีย และได้ช่วยกันเขียนเรื่อง T**lements อย่างไรก็ดีส่วนใหญ่ก็มั่นใจว่ายูคลิดมีตัวตนจริง และเป็นปราชญ์อัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตในยุคกว่า 2,000 ปี

ผลงาน T**lements แบ่งออกเป็นหนังสือได้ 13 เล่ม ใน 6 เล่มแรกเป็นผลงานเกี่ยวกับเรขาคณิต เล่ม 7, 8 และ 9 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีตัวเลข เล่ม 10 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎีที่ว่าด้วยจำนวนอตักยะ เล่ม 11, 12 และ 13 เกี่ยวข้องกับเรื่องราว รูปเรขาคณิตทรงตัน และปิดท้ายด้วยการกล่าวถึงรูปทรงหลายเหลี่ยม และข้อพิสูจน์เกี่ยวกับรูปทรงหลายเหลี่ยม

      ผลงานของยูคลิดเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางมาก และกล่าวกันว่าผลงาน T**lements เป็นผลงานที่ต่อเนื่อง และดำเนินมาก่อนแล้วในเรื่องผลงานของนักคณิตศาสตร์ยุคก่อน เช่น ทาลีส (Thales), ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) และพีธากอรัส อย่างไรก็ตาม หลายผลงานที่มีในหนังสือนี้เป็นที่เชื่อกันว่าเป็นบทพิสูจน์และผลงานของยูคลิดเอง ผลงานของยูคลิดที่ได้รับการนำมาจัดทำใหม่ และตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1482 หลังจากนั้นมีผู้นำมาตีพิมพ์อีกมากมายนับจำนวนครั้งไม่ถ้วน
    หลักการหา ห.ร.ม.ที่ง่ายที่สุดและรู้จักกันดีจนถึงปัจจุบันคือ ให้นำตัวเลขจำนวนน้อยหารตัวเลขจำนวนมาก เศษที่เหลือมาเทียบกับเลขจำนวนน้อย จับหารกันไปเรื่อย ๆ ทำเช่นนี้จนลงตัว ได้ ห.ร.ม. เป็นเลขที่ลงตัวตัวสุดท้าย
     ดังตัวอย่าง การหา ห.ร.ม. ของ 330 กับ 140
   
a = bq1 + r2 ,    0  <  r2  <  b ;     330 = 140 . 2 + 50;  
b = r2q2 + r3 ,    0  <  r3  <  r2 ;     180 = 50 . 2 + 40;  
r2 = r3q3 + r4 ,    0  <  r4  <  r3 ;     50 = 40 . 1 + 10;  
……….    ……….     40 = 10 . 4  
rn-2 = rn-1qn-1 + rn ,    0  <  rn  <  rn-1 ;  
rn-1 = rnqn  
ห.ร.ม. ของ (330, 140) คือ 10

 

                                                                                             

  • เลออนฮาร์ด ออยเลอร์

เป็นนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส  เขาได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยมี เกิดวันที่ 15 เมษายน ค.ศ.1707 ที่เมือง Basel ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจริยะทางคณิตศาสตร์ และได้ศึกษาคณิตศาสตร์กับ Johann Bernoulli ท่านได้รับปริญญาตรีเมื่ออายุ 16 ปี และปริญญาโททางปรัชญา เมื่ออายุ 18 ปี ท่านทำงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ ในปี ค.ศ.1727 ท่านรับตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาคณิตศาสตร์ที่ St. Petersburg Academy of Sciences (ในรัสเซีย) ซึ่งสถาปนาโดย ซาร์ปีเตอร์มหาราช 14 ปีต่อมาท่านไปเป็นผู้อำนวยการ Prussian Academy ตามคำเชิญของเอมเปอเรอร์เฟรเดอริกมหาราช ท่านทำงานในตำแหน่งนี้ 25 ปี จึงกลับไปที่ St. Petersburg อีกและอยู่ที่นั้นจนถึงแก่กรรม ในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ.1783 อายุ 76 ปี

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์  เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า  “ฟังก์ชัน”  (ตามคำนิยามของไลบ์นิซ  ใน  ค.ศ.1694)  ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร  เช่น  y  =  F(x)  เขายังได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ประยุกต์แคลคูลัสเข้าไปยังวิชาฟิสิกส์

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นนักคณิตศาสตร์มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง  75  เล่ม  ผลงานของเขามีอิทธิพลอย่างมากต่อผลงานทางคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่  18  เขาต้องสูญเสียการมองเห็นและตาบอดสนิทตลอด  17  ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา  ซึ่งในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้ถึงเกือบครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมดของเขา

 

 

 

 

  • โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์

(เยอรมัน: Johann Carl Friedrich Gauß) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1777) เสียชีวิต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) เป็นหนึ่งในตำนานนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ (นักคณิตศาสตร์บางท่านกล่าวว่าสี่ผู้ยิ่งใหญ่ของวงการคณิตศาสตร์มี อาร์คิมิดีส นิวตัน เกาส์ และออยเลอร์) ได้รับฉายาว่า “เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์” (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานในทุก ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาส์ยังมีผลงานสำคัญทางด้านฟิสิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย

 

 

 

 

  •                       อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ

(1903-1987) ( อังกฤษ: Andrey Nikolaevich Kolmogorov), เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1903 เสียชีวิต 20 ตุลาคม ค.ศ. 1987, เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็นและทอพอโลยี. อันที่จริงแล้ว คอลโมโกรอฟมีผลงานในแทบทุกแขนงของคณิตศาสตร์ เช่น ตรรกศาสตร์, อนุกรมฟูเรียร์, ความปั่นป่วน (turbulence), กลศาสตร์คลาสสิก นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้คิดค้น ความซับซ้อนแบบคอลโมโกรอฟ ร่วมกับ เกรโกรี ไชตัง และ เรย์ โซโลโมนอฟ ในช่วงช่วงปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970.
        คอลโมโกรอฟเสมือนเป็นบิดาของ ทฤษฎีความน่าจะเป็นสมัยใหม่ (บางครั้งเรียกว่าทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงคณิตศาสตร์) เนื่องจากได้ปูรากฐานของทฤษฎีความน่าจะเป็นใหม่ทั้งหมด ด้วยสัจพจน์ที่เรียบง่ายเพียงไม่กี่ข้อ. โดยงานวิจัยด้านทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน (คนละประเภทกับงานวิจัยด้านทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์) มีรากฐานทั้งหมดอยู่บนสัจพจน์คอลโมโกรอฟนี้
        เดวิด ซาลส์เบิร์ก กล่าวยกย่องคอลโมโกรอฟว่าเป็น ” โมซาร์ทแห่งคณิตศาสตร์ ในหนังสือ The Lady Tasting Tea: How Statistics Revolutionized Science in the Twentieth Century”

  •    จอห์น เฮอร์เชล

    (John Herschel)
            (7 มีนาคม ค.ศ. 1792-11 พฤษภาคม ค.ศ. 1871) นักคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นกระบวนการไซยาโนไทป์ (Cyanotype) ที่เป็นต้นแบบของกระบวนพิมพ์เขียว (Blue Print) ที่พัฒนาต่อกันมาใช้ในการทำสำเนาแบบพิมพ์เขียว หรือกระดาษคาร์บอนพิมพ์ดีด ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ เนื่องจากว่าสมัยนั้นการบันทึกข้อมูลต้องเขียนด้วยลายมือ และหากต้องการสำเนาก็ต้องคัดลอกซ้ำให้เหมือนเดิม ทำให้ต้องใช้เวลามากขึ้นไป เฮอร์เชล จึงพยายามคิดวิธีการทำสำเนาขึ้นนั่นเอง ในทางการถ่ายภาพ เป็นผู้แนะนำให้ทัลบอท ผู้คิดค้นกระบวนการถ่ายภาพทัลบอทไทป์ (หรือเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า กระบวเนกาทิฟโพสิทิฟ) ให้ใช้ “ไฮโป” ในการคงสภาพให้ภาพติดถาวร ในยุคแรกของการคงสภาพนั้นใช้น้ำเกลือเข้มข้นในการคงสภาพ นอกจากนั้นยังเป็นผู้บัญญัติศัพท์ที่ใช้ในทางการถ่ายภาพ คือคำว่า “photograph” “negative” และ “positive”
            จอห์น เฮอร์เชล เป็นลูกชายของวิลเลียม เฮอร์เชล นักดาราศาสตร์ ซึ่งค้นพบดาวยูเรนัส

 

 

 

  • บารอนชอง แบบทิสต์ โจเซฟ ฟูร์เยร

(Jean Baptiste Joseph Fourier พ.ศ. 2311 – 2373) นักคณิตศาสตร์ได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็นครั้งแรกในขณะที่กำลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูร์เยร์ก็ได้ค้นพบสมการการไหลนี้ซึ่งต่อมาได้ตั้งชื่อเป็น สมการฟูร์เยร์ เพื่อแก้ปัญหาและพิสูจน์สมการนี้ฟูร์เยร์ได้แสดงให้เห็นว่าฟังค์ชันหลายฟังค์ชันของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออกเป็นอนุกรมของไซน์ (sines) เชิงซ้อนของตัวแปรที่เรียกในภายหลังว่า “อนุกรมฟูร์เยร์

 

 

 

  • เรอเน เดส์การตส์ (

    Ren Descartes)

เป็นทั้งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ นอกจากที่เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่เขายังเป็นผู้คิดค้นระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนา
ด้านแคลคูลัสต่อมาเดส์การตส์ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไปถึงนักปรัชญารุ่นต่อ ๆ มาโดยรวมเรียกว่าปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม (rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18.

 

 

  

  • กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ

(Gottfried Wilhelm von Leibniz)

(1 กรกฎาคม ค.ศ. 1646 (พ.ศ. 2189) ในเมืองไลป์ซิกประเทศเยอรมนี – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1716 (พ.ศ. 2259)) เป็นนักปรัชญา, นักวิทยาศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, นักการทูต, บรรณารักษ์ และ นักกฎหมายชาวเยอรมันเชื้อสายเซิบ เขาเป็นคนที่เริ่มใช้คำว่า “ฟังก์ชัน”สำหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของเส้นโค้งหรือจุดบางจุดของเส้นโค้งดังกล่าวไลบ์นิซและนิวตันได้รับการยกย่องร่วมกันว่าเป็นผู้เริ่มพัฒนาแคลคูลัสโดยเฉพาะส่วนของไลบ์นิซในการพัฒนาปริพันธ์และกฎผลคูณ

 

 

 

  • ปิแยร์ เดอ แฟร์มาต์ (Pierre de Fermat)

    ประมาณ ค.ศ. 1601-1665
    ประวัติ
    แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง Toulouse ประเทศฝรั่งเศส ในปี 1601 และถึง แก่กรรมที่เมือง Castres ในปี 1665 บิดาเป็นพ่อค้าเครื่องหนัง ในวัยเด็กศึกษาอยู่ กับบ้าน แฟร์มาต์มีอาชีพเป็นนักกฎหมาย เมื่ออายุ 30 ปี ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ ปรึกษากฎหมายอขงองค์การบริหารส่อนท้องถิ่นของเมือง Toulouse ท่านได้ใช้ เวลาว่างศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์ เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับนักคณิตศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น มีส่วนในการพัฒนาคณิตศาสตร์ในหลายสาขา นับได้ว่าเป็น นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นที่มีชื่อเสียงที่สุด
    ผลงาน
    1. ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กันกับเดส์การ์ตส์
    2. ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชัน
    3. ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็น ร่วมกับปาสกาล
    4. พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจำนวน เช่น
    Fermat’s two square theorem : ทุกจำนวนเฉพาะในรูป 4n + 1 สามารถเขียน ในรูปผลบวกของจำนวนเต็มยกกำลังสองได้คู่หนึ่งและคู่เดียวเท่านั้น
    Fermat’s theorem : ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและ n เป็นจำนวนเต็มบวก จำได้ว่า p หาร n p – n ลงตัว

 

 

 

 

 

 

 

 

  • แบลส ปาสกาล (Blaise Pascal)

    ประมาณ ค.ศ. 1623-1662
    ประวัติ
    ปาสกาลเกิดที่เมือง Chermont มณฑล Auvergne ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1623 บิดาเป็นนักคณิตศาสตร์และผู้พิพากษา ปาสกาล มีความเป็นอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก
    อายุ 12 ปี ท่านได้พัฒนาเรขาคณิต เบื้องต้นด้วยตนเอง
    อายุ 14 ปี ท่านได้เข้าร่วมประชุมกับนักคณิตศาสตร์ฝรั่งเศส
    อายุ 16 ปี ท่านได้พัฒนาทฤษฎีบทที่สำคัญในวิชาเราขาคณิตโพรเจคตีฟ
    และเมื่ออายุ 19 ปี ท่านได้พัฒนาเครื่องคิดเลข
    ภายหลังจากที่ท่านประสบอุบัติเหตุที่ Neuilly ท่านหันความสนใจไปทางศาสนา และปรัชญา ไม่เช่นนั้นท่านคงเป็นนักคณิตศาสตร์ ที่รุ่งโรจน์ที่สุดคนหนึ่ง
    ผลงาน
    1. งานเขียน Essay pour les coniques (1640) ซึ่งสรุปทฤษฎีบท เกี่ยวกับเรขาคณิตโพรเจกตีฟ ที่ท่านได้พัฒนามาแล้วเมื่ออายุได้ 16 ปี
    2. งานเขียน Traite du traingle arithmetique (1665) ซึ่งเกี่ยวกับ “Chinese triangle” หรือในอดีตนิยมเรียกว่า “Pascal triangle” เพราะคิดว่า Pascal เป็นผู้คิดเป็นคนแรก แต่ที่แท้จริงได้มีชาวจีนพัฒนามาก่อนแล้ว
    3. ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็นในปี ค.ศ. 1654 ร่วมกับ Fermat โดยใช้วิธีที่แตกต่างกัน
    4. ศึกษาเส้นโค้ง Cycloid

 

 

 

 

  • Paul Erdos (พอล แอร์ดิช)

 

 เมื่อ Paul Erdos (พอล แอร์ดิช) ถึงแก่กรรม หนังสือพิมพ์ The New York Times ฉบับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2539 ลงข่าวหน้าหนึ่งว่า วันนี้เป็นวันที่เราได้สูญเสียนักคณิตศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของโลกไป วงการคณิตศาสตร์รู้ดีว่าเป็นอัจฉริยะที่มีบุคลิกแปลกไม่เหมือนใครและไม่มีใคร จะมีวัน เหมือน ตลอดชีวิตของเขา เขาไม่เคยมีที่บ้านเป็นหลักแหล่ง เขาชอบดื่มกาแฟรสจัดขณะทำงาน และติดยาอีแต่ในขณะเดียวกันเขาก็เป็นนักคณิตศาสตร์ ที่มีผลงานมากถึง 1,500 เรื่อง ซึ่งนับว่ามากกว่านักคณิตศาสตร์คนใดในศตวรรษนี้ เกิดที่กรุง Budapest ในประเทศฮังการี เมื่อปี พ.ศ. 2456 ความเป็น อัจฉริยะของเขาได้เริ่มฉายแสงตั้งแต่สมัยที่เขาอายุยังน้อย มารดาเขาเล่าว่า รู้จักเลขลบ (negative number) เช่น -3, -5, -12,… ตั้งแต่มีอายุได้ 4 ขวบ เมื่ออยู่ชั้นประถมเขาสามารถคิดกำลังสองของเลขสี่หลักได้ในใจ เมื่อยู่ชั้นมัธยมเขาสามารถแสดงวิธีพิสูจน์สมการของ Pythagorus ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ ์ระหว่างด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก คือ a2 = b2 + c2 (เมื่อ a เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก และ b กับ c เป็นด้านที่ประกอบมุมฉากของสามเหลี่ยม) ได้ถึง 37 วิธี

 

 

  • J.C.F.Gauss

 

Johann Carl Friedrich Gauss คือผู้ที่วงการคณิตศาสตร์ยอมรับว่า เป็นนักคณิตศาสตร์ ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งที่โลกรู้จักเทียบเท่า Archimedes และ Newton เขามีผลงานคณิตศาสตร์ ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติมากมาย สูตรสมการวิธีคำนวณต่างๆ มีชื่อเขาร่วม 50 วิธี นอกจากนี้ Gauss ยังมีผลงานด้านดาราศาสตร์และด้านธรณีฟิสิกส์ที่น่าประทับใจอีกด้วย Gauss รู้คณิตศาสตร์ได้โดยไม่มีครูสอน เมื่อเขาอายุได้ 10 ขวบ J.G. Buttner ผู้เป็นครูคณิตศาสตร์ของเขาได้เขียนโจทย์เลขลงบนกระดานดำให้นักเรียนทั้งห้องคำนวณหาผลบวกของ 1+2+3+…..+100 ซึ่งโจทย์ลักษณะนี้ “บังคับ” ให้เด็กต้องใช้เวลาบวกนาน ทั้งนี้ก็เพื่อครูจะได้มีเวลาเดินไปสอนห้องอื่นต่อ (ครูเยอรมันยุคนั้นคนเดียวต้องสอน นักเรียนหลายห้องพร้อมกัน คงเหมือนครูบ้านนอกในประเทศไทยสมัยนี้) ประเพณีปฏิบัติสมัยนั้นก็คือ เมื่อนักเรียนทำเลขเสร็จก็ให้นำกระดานชนวนที่มีคำตอบ ของตนไปวางบนโต๊ะครู ผลปรากฏว่า พอครู Buttner เขียนโจทย์บนกระดานดำเสร็จGaussก็ได้เดินถือกระดานชนวนที่มีคำตอบของตนไปวางบนโต๊ะ ครูทันที แล้วกลับมานั่งกอดอกดูคนอื่นๆ ทำ อีก 1 ชั่วโมงต่อมา เมื่อนักเรียน คนอื่นทำเสร็จ ครูก็พบว่า คำตอบที่ถูกต้องคือคำตอบของ Gauss เพียงคนเดียว ว่าเท่ากับ 5,050 ซึ่ง Gauss ได้อธิบายให้ครูเข้าใจ แนวคิดอย่างรวดเร็วของเขาว่า เขาได้เอา 1+100 =101 เอา 2+99=101 แล้วเอา 3+98 =101 ไปเช่นนั้นเรื่อยๆ เพราะตัวเลข ทั้งหมดมี 50 คู่ ดังนั้น คำตอบจึงเป็น 50×101 = 5,050 เมื่อครู Buttner เห็นเช่นนั้น เขาก็รู้ว่าศิษย์คนนี้รู้มากกว่าครูแล้ว จึงได้ซื้อหนังสือคณิตศาสตร์ชั้นสูงเล่มหนึ่งให้เป็นของขวัญและ Gauss ก็ได้อ่านและฝึกฝนตนเองจากเล่มนั้นจนจบเล่ม

 

 

 

 

 

  • จอห์น แนช จูเนียร ( John nash junior )

 

จอห์น แนช จูเนียร์ เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน ที่สร้างผลงานต่อโลกมากมาย โดยคิดทฤษฎีดุลยภาพซึ่งสำคัญกับเศรษฐศาสตร์สมัยใหมjมีผลต่อการ ค้าและการทหาร ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษย์ชาติ ชีวิตของเขาน่าสนใจ ซึ่งได้สอนให้เรารู้จักคุณค่าของการฉกฉวยการใช้ความคิดในขณะที่ยังเป็นหนุ่มสาว
         จอห์น แนช จูเนียร์ เกิดวันที่ 13 มิถุนายน 1928 เขาเป็นเด็กอัจฉริยะในเมืองบูลฟีลด์ มลรัฐเวอร์จิเนีย หน้าตาดี หยิ่งยโส มีนิสัยพิลึกมาก เขาไม่ชอบเข้าห้องเรียน ไม่ชอบแก้โจทย์คณิตศาสตร์ในวิธีของคนอื่น ๆ เพราะเขาถือว่าห้องเรียนเป็นกรอบความคิด เขาชอบค้นคว้าและคิดเองเสมอเขามีนัก วิทยาศาสตร์ในดวงใจ คือ อัลเบอร์ต ไอสไตน์

  ทฤษฎีบทของแนช-โมเชอร์ ทฤษฎีเหล่านี้มีประโยชน์ทางการค้า การทหาร การเมือง ที่อาศัยการเจรจาโดยไม่มีผู้ใดเสียประโยชน์เขายังคงผลิตผลงานออก มาเรื่อย ๆ และสอนที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ชีวิตปั้นปลายของเขามีความสุขกับครอบครัวมาก จอห์นยังคงเดินไปสอนที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันทุกวันและสอน หนังสือนักศึกษากลุ่มเล็ก ๆ ในห้องสมุดอย่างมีความสุข โดยเลี่ยงที่จะทำงานในห้องสี่เหลี่ยม ชีวิตของเขามีความน่าสนใจตรงที่การมีหัวใจอันเข้มแข็งที่จะต่อสู้ และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใด ๆ แม้กระทั่งโรคร้ายผลงานเขาทำให้โลกรู้จักสันติและลดการแข่งขันมีแต่ผู้ชนะ

 

  • ปีแอร์ เดอ แฟร์มาต ( Pierre de Fermat )

 

แฟร์มาต์เป็นชาวฝรั่งเศส เป็นนักคณิตศาสตร์ในยุคของการพัฒนาศิลปวิทยา เขาเกิดในวันที่ 17 เดือนสิงหาคม ค.ศ.1601แฟร์มาต์เป็นบุตรชายพ่อค้า ขายเครื่องหนังผู้มั่งคั่งคนหนึ่งของฝรั่งเศส แฟร์มาต์มีผลงานที่สำคัญในเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็นผลงานคิดค้นทางคณิตศาสตร์ของแฟร์มาต์ที่น่าสนใจและ เป็นรากฐานในวิชาแคลคูลัสต่อมา คือ Method for determining Maxima and Minima and Tangents of Curved Lines ผลงานคิดค้นส่วนนี้ ทำให้สามารถคำนวณหาจุดสูงสุดต่ำสุด และเส้นสัมผัสของรูปกราฟ ความสัมพันธ์แบบต่าง ๆ และเข้าไปสู่เรื่องเรขาคณิตแบบใหม่
        แฟร์มาต์ยังคงเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรขาคณิตแบบใหม่นี้ โดยเน้นการวิเคราะห์พื้นผิว และรูปทรงต่าง ๆ โดยให้ชื่อหนังสือว่า Introduction to Plane and Solid Loci งานที่มีชื่อเสียงและเป็นที่กล่าวถึงของนักคณิตศาสตร์และชนรุ่นหลังอย่างมาก คือ แฟร์มาต์ได้เสนอทฤษฎีที่เรียกว่า ทฤษฎีบทสุดท้ายของ แฟร์มาต์ แฟร์มาต์ยังได้ทำการศึกษาและให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเลขจำนวนเฉพาะ และต่อมาได้เรียกกันว่า ตัวเลขของแฟร์มาต์ (Fermat Number)

  •  

     อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ( Albert Einstein )

   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก เป็นนักคิดค้นที่ไม่ยอมหยุดนิ่ง เป็นคนที่รักความสงบ มีนิสัยนอบน้อม ถ่อมตน ไอน์สไตน์ เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ปี คศ. 1879 ที่เมืองอูล์ม ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมันนี บิดาของไอน์สไตน์เป็นชาวยิว มีชีวิตในวัยเด็กเหมือน เด็กทั่วไป มีการกล่าวกันว่าจุดที่ทำให้ไอน์สไตน์มาสนใจวิทยาศาสตร์อย่างมากคือเข็มทิศ ในขณะนั้นเขามีอายุได้ 5 ปี และกำลังนอนป่วยอยู่บนเตียง บิดาได้นำ เข็มทิศมาให้เล่น เขาใส่ใจและสนใจอยากรู้ว่าทำไมเข็มทิศจึงชี้ไปทางทิศเหนือและตั้งแต่นั้นมาเขาเริ่มสนใจทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์หนังสือเรขาคณิตเป็น หนังสือ ที่เขาโปรดปรานมาก เขาศึกษาเรขาคณิตจากหนังสือของยูคลิด อายุเพียง 12 ปี เขาทำความเข้าใจในเรื่องเรขาคณิตของยูคลิดเป็นอย่างดี ครั้งเมื่อ เติบโตขึ้นจนอายุเข้า 16 ปีเขาก็สามารถเรียน รู้หลักการทางคณิตศาสตร์ชั้นสูงหลายอย่าง เช่น วิชาการแคลคูลัส และดิฟเฟอเรนเชียน การอินทิกรัล และกฎของ นิวตัน ตลอดจนหลักการทางฟิสิกส์อีกมากมาย วันหนึ่งในวัยเรียนหนังสือเขามองดูท้องฟ้า และจินตนาการว่าถ้าตัวเขาวิ่งไล่ตามแสงด้วยความเร็วเท่ากับแสงแล้ว อะไรจะเกิดขึ้น เขาจะมองเห็นแสงหรือไม่ ถ้าไล่ตามแสงด้วยความเร็วเท่ากับแสง ความเร็วสัมพันธ์ของแสงจะเท่ากับศูนย์หรือไม่ ถ้าแสงหยุดชงักมันก็จะไม่มา ถึงตาเรา วัตถุทั้งหลายก็จะหายไป สิ่งนี้ทำให้เขาขบคิดอยู่ตลอดมา

 

 

 

 

 

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[Update] BCE, CE, BC, AD คือ แปลว่า หมายถึง ต่างกันอย่างไร | ก่อนคริสต์ศักราช – Australia.xemloibaihat

BCE, CE, BC, AD

 

คำย่อ Before the Common Era, Common Era, Before Christ, Anno Domini

หรืออาจเขียน B.C, A.D, C.E

 

BC (Before Christ) หมายความว่า ก่อนคริสต์ศักราช  ซึ่งคือช่วงเวลาก่อนยุคปฏิทินปัจจุบัน คำว่า Before Christ หมายถึง ช่วงเวลาก่อนพระเยซูประสูติ

และ

AD (Anno Domini) หมายความว่า คริสต์ศักราช ซึ่งหมายถึงยุคปฏิทินปัจจุบัน นั้นก็คือช่วงเวลาของชาวคริสต์ คำว่า Anno Domini เป็นคำภาษาละตินแปลว่า ปีของพระเจ้า นั้นก็คือ นับปีที่ 1 (คศ 1) เมื่อพระเยซูประสูติ

 

ในปัจจุบันถึงแม้ว่า BC และ AD ยังคงใช้อยู่อย่างกว้างขวาง แต่คำที่นิยมใช้เป็นทางการมากขึ้นคือ BCE  (Before the Common Era) และ CE (Common Era) เพื่อให้เป็นคำเป็นสากลมากขึ้นและไม่ขึ้นกับศาสนา

Before the Common Era คือ ก่อนสากลสมัย หรือ ยุคก่อนปฏิทินปัจจุบัน นั้นก็คือช่วงเวลาก่อนปฏิทินปัจจุบัน

และ

Common Era คือ สากลสมัย หรือ ยุคปฏิทินปัจจุบัน  นั้นก็คือยุคของปฏิทินปัจจุบัน ปฏิทินปัจจุบันในที่นี้หมายถึง ปฏิทินคริสตศักราช

 

ดังนั้น BCE  = BC และ CE = AD

 

 

 

 


17.ยุคอุปนิษัท ก่อนคริสต์ศักราช (ราว 700-300 B.C.) โดย พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑโฒ)


ยุคอุปนิษัท ก่อนคริสต์ศักราช Before Christ (ราว 700300 B.C.) โดย พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ ก่อนคริสต์ศักราช Before Christ (สมชาย ฐานวุฑโฒ)
ยุคอุปนิษัท (ราว 700300 B.C.)
เป็นยุคที่มนุษย์ต้องการหาเหตุผลที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นมากกว่าการสวดสรรเสริญและอ้อนวอนเทพเจ้าอย่างที่เคยทำมาในยุคพระเวทและมหากาพย์ จึงมีนักคิด นักปฏิบัติต่าง ๆ เกิดขึ้นจำนวนมาก พยายามอธิบายโลกและชีวิตมีคัมภีร์อุปนิษัทเกิดขึ้นนับร้อยคัมภีร์ กลายเป็นคัมภีร์สำคัญของศาสนาฮินดูสาขาต่าง ๆ แนวคิดของอุปนิษัทมีความหลากหลายมาก แต่ก็มีประเด็นร่วมคือ พยายามตอบคำถามว่าอะไรเป็นเหตุกำเนิดโลก คนเราเกิดมาจากไหน เรามีอยู่ได้อย่างไร เราจะอยู่เป็นสุขได้อย่างไร เราถูกอะไรควบคุมให้มีความสุข ความทุกข์ และมีแนวโน้มจะเชื่อเรื่อง พรหมัน (ปรมาตมัน) คือความจริงสูงสุด เป็นผู้ให้กำเนิดสรรพสิ่ง กับอาตมัน คือตัวตนที่แท้จริงของแต่ละคน
แนวทางการหลุดพ้นคือให้อาตมันไปรวมกับพรหมัน การจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ทำโดยการควบคุมอินทรีย์ ละทิ้งความอยาก ฝึกสมาธิ ทำให้เห็นความจริงของพรหมันกับอาตมันจนอาตมันสามารถรวมกับพรหมันได้
เกิดกลุ่มคนใหม่คือ “สมณะ” เป็นผู้ตั้งใจปฏิบัติเพื่อแสวงหาความหลุดพ้น สมณะที่เจ้าชายสิทธัตถะพบก่อนเสด็จออกบวชถือเป็นเทวทูตที่ 4 ก็คือคนกลุ่มนี้ อุทกดาบสและอาฬารดาบส รวมถึงชฎิลชื่อ อุรุเวลกัสปะ และ น้องชายอีก 2 คนกับบริวารอีก 1,000 ที่เป็นอาจารย์ใหญ่ของชาวมคธภายหลังออกบวชกับพระพุทธเจ้าจนเป็น
พระอรหันต์ก็เป็นสมณะประเภทหนึ่ง ทั้งหมดนี้ล้วนรวมอยู่ในแนวคิด อุปนิษัท ซึ่งปฏิเสธการผูกขาดการเป็นตัวกลางติดต่อระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ของคนวรรณะพราหมณ์ และเปิดกว้างให้ทุกคนสามารถแสวงหาทางหลุดพ้นด้วยตนเอง โดยการปฏิบัติ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

17.ยุคอุปนิษัท ก่อนคริสต์ศักราช (ราว 700-300 B.C.) โดย พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑโฒ)

# 7 เอมเพโดคลีส : (Empedocles) จักรวาลประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ


History and evoluation of science.
เอมเพโดคลีส : จักรวาลประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ
เอมเพโดคลีส (Empedocles 490 430 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้ค้นคว้าเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ เขาคิดว่า หัวใจ เป็นที่ตั้งของชีวิต สสารประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ มากกว่าจะดำรงอยู่ได้ด้วยธาตุชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น น้ำ อย่างที่เทลีสกล่าวไว้ สิ่งต่าง ๆ ไม่มีจุดเริ่มต้นหรือที่สิ้นสุด มีแต่เพียงการรวมตัวและการแยกตัวของธาตุ เหล่านี้เท่านั้น บางครั้งเอกภาพก็วิวัฒนาการออกมาจากหลายสิ่ง บางครั้งสิ่งที่สมบูรณ์ก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายส่วน การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปอย่างไม่มีวันจบสิ้น ดิน น้ำ และอากาศ เป็นตัวแทนของสถานะทั้ง 3 ของสสาร ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ส่วน ไฟ คือพลังงานที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะ
นักปรัชญากรีกทั้งหลายพยายามที่จะหาคำตอบว่า จักรวาลเป็นสิ่งที่มีระเบียบแบบแผนหรือไม่ ? ใคร ? เป็นผู้บัญญัติกฎนี้ขึ้นมา
อนักซาโกรัส : ดวงอาทิตย์ไม่ใช่พระเจ้า
อานักซาโกรัส (Anaxagoras 500 428 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ใช้หลักวิทยาศาสตร์อธิบายปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น เขาศึกษาการเกิดผีพุ่งไต้ สุริยคราส เขาเชื่อว่าดวงจันทร์ได้รับแสงสะท้อนมาจากดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ไม่ใช่พระเจ้าที่จะดลบันดาลสิ่งต่าง ๆ ในที่สุดเขาก็ถูกลงโทษเนื่องจากมีความคิดขัดแย้งกับฝ่ายศาสนา
ลูซิพพัส (Leucippus เกิดประมาณ 475 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เสนอว่า อะตอมมีการรวมตัวกันหลายแบบนับ จำนวนไม่ถ้วนประกอบกันเป็นสิ่งต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหวต่อเนื่องกันอยู่ ตลอดเวลาต่อมา เดโมคริตุส ลูกศิษย์คนหนึ่ง ของเขาได้เสนอทฤษฎีอะตอมขึ้น
โสคราเตส (Socrates 470 399 ) ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นผู้สนใจพฤติกรรมของมนุษย์มากกว่าปรากฏ การณ์ทางธรรมชาติ เป็นผู้ริเริ่มตั้งข้อสมมติฐาน เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมของมนุษย์ซึ่งเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหา โดยวิธีวิทยาศาสตร์ในเวลาต่อมา
เดโมคริตุส : ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกประกอบด้วยอะตอมที่มีขนาดเล็กมาก
เดโมคริตุส (Democritus 470? 370 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เสนอว่าจักรวาลประกอบด้วยปรมาณูนับ จำนวนไม่ถ้วน มีสัณฐานไม่คงที่ จักรวาลไม่มีศูนย์กลางไม่มีขอบเขต และมีความกว้างใหญ่ไพศาลไม่มีที่สิ้นสุด ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกและจักรวาลประกอบด้วย อะตอม (Atom = A + Temno) อะตอมมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก อะตอมเหล่านี้มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา น้ำ ประกอบด้วยอะตอม ที่มีลักษณะเรียบและกลมเกลี้ยงจึงไหลได้ง่ายและมีรูปร่างไม่คงตัว อะตอมของไฟ คล้าย ๆ กับหนามแหลม อะตอมของดินหยาบและขรุขระเหมือนตะขอยึดเหนี่ยวกันไว้ เรื่องของอะตอมในสมัยนั้นไม่มีผู้เชื่อถือมากนัก เพราะพิสูจน์ให้เห็นจริงเหมือนในปัจจุบันนี้ไม่ได้

ฮิปโปคราเตส : บิดาแห่งการแพทย์

ฮิปโปคราเตส (Hippocrates 460 377? ปีก่อนคริสต์ศักราช) ได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่งการแพทย์ เขาเชื่อว่าโรคทุกโรคเกิดจากธรรมชาติ ไม่ใช่เพราะเกิดจากเทพเจ้าเป็นผู้บันดาลซึ่งนับว่าเป็นความเชื่อที่แปลก และใหม่มากเมื่อเทียบกับความเชื่อในยุคโบราณ เขาเป็นคนแรกที่ทำลายความเชื่อที่ว่า ภูติผีปีศาจทำให้เกิดโรค โรคในสมัยโบราณที่เรียกว่า โรคที่ศักดิ์สิทธิ์ (โรคลมบ้าหมู) ก็มีสาเหตุทางธรรมชาติที่เหมือนกับโรคอื่น ๆ

การค้นพบวิธีการสำคัญหลายอย่าง ทำให้แพทย์เปลี่ยนจากความเชื่อที่งมงายมาเป็นความเชื่อที่มีเหตุผล ฮิปโปคราเตส และบรรดาศิษย์ทั้งหลายสังเกตอาการแล้ววินิจฉัยโรค เขาให้ข้อแนะนำว่าการที่จะเข้าใจสมมติฐาน การเกิดโรคต่าง ๆ นั้น จะต้องศึกษาธรรมชาติของมนุษย์โดยทั่วไป คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล อาการของโรค ยิ่งรู้สิ่งต่าง ๆ มากขึ้นเท่าใดก็ยิ่งทำให้การวินิจฉัยโรคถูกต้องแม่นยำขึ้นมากเท่านั้น อากาศและลักษณะพิเศษในท้องถิ่นก็ต้องนำมาพิจารณาด้วย นอกจากนั้นจะต้องศึกษา อุปนิสัยของคนไข้ อาชีพการงาน อายุ ลักษณะการพูด อารมณ์ การนอน ลักษณะท่าทางต่าง ๆ และจดบันทึกรายละเอียดอย่างถี่ถ้วน เมื่อวินิจฉัยโรคและให้ยารับประทานแล้วต้องติดตามผลด้วยว่าอาการเป็นอย่างไร ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างบันทึกอาการไข้
บันทึกอาการไข้ 1
ชื่อคนไข้ ฟิลิสคัส ที่อยู่ ใกล้กับกำแพงเมือง วันแรก เขามีอาการไข้สูงขึ้น และเหงื่อออก เข้านอน รู้สึกทรมานตลอดคืน วันที่สอง อาการเลวลงแต่เมื่อได้สวนทวารก็หลับได้บ้าง วันที่สาม เขาดูเหมือนว่าจะไม่มีไข้ ในตอนเช้าแต่ในตอนบ่ายกลับมีไข้อีก ไข้สูงกว่าเดิมเหงื่อออก กระหาย ลิ้นแห้ง ปัสสาวะมีสีดำ ทรมานตลอดทั้งคืน นอนไม่หลับและเพ้อ วันที่สี่ อาการเลวลงไปอีกปัสสาวะยังสีดำอยู่ แต่เขารู้สึกสบายขึ้นในตอนกลางคืน วันที่ห้า มีเลือดออกทางจมูกเล็กน้อย ปัสสาวะเป็นเม็ด มีความเคลื่อนไหวของกระเพาะนิดหน่อยหลังจากใช้ยาถ่าย
คืนนั้นอาการแย่มาก เพ้อ ตัวเย็นเฉียบ ตอนใกล้รุ่งเขาหลับไปได้หน่อย จากนั้นก็พูดไม่ได้ เหงื่อออกมาก เนื้อตัวเปลี่ยนเป็นสีเทา ๆ วันที่หก ตายตอนเที่ยง หลังจากที่หายใจอย่างช้า ๆ และเจ็บปวดอยู่พักหนึ่ง ม้ามของเขาบวมออกมา โรคชนิดนี้มีเหงื่อเย็น ๆ ออกมา เขามีอาการทรุดลงทุกวันก่อนตาย
ตำราแพทย์สมัยนั้นที่ชื่อว่า Hippocratic collection ซึ่งมีทั้งหมด 87 เล่ม เขียนโดยนักปราชญ์หลายท่าน เราไม่อาจยืนยันได้ว่าเป็นข้อเขียนของฮิปโปคราเตสทั้งหมด แต่ข้อความและแนวความคิดในหนังสือเหล่านั้น ก็สอดคล้องกับความเห็นของฮิปโปคราเตสทุกอย่าง คำปฎิญาณอันมีชื่อเสียงเพื่อธำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณของ แพทย์ก็ยังเป็นที่ยอมรับและใช้ในการปฏิญาณตนของผู้ที่เป็นแพทย์ มาจนทุกวันนี้
(สมัยเดียวกันนี้มีฮิปโปคราเตสอีกคนหนึ่งเกิดที่เกาะไคออส เป็นนักเรขาคณิตได้รวบรวมผลงานต่าง ๆ ทางด้านเรขาคณิต ชื่อ ELEMENTS OF GEOMETRY ขึ้น)
Playlist https://bit.ly/2DGMlrZ

# 7 เอมเพโดคลีส : (Empedocles) จักรวาลประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ

Top 10 B.C. Golf Courses


Sports writers Brad Ziemer and Iain MacIntyre discuss their favorite top ten B.C. golf courses.
See the complete golf guide including search for a golf course here: http://www.vancouversun.com/sports/golf/index.html

Top 10 B.C. Golf Courses

ผ่าทฤษฎี “คนไทยมาจากไหน?”


คนไทยมาจากไหน? คนไทยมีถิ่นกำเนิดเดิมอยู่ที่ใด? ยังเป็นปัญหาที่มีคำตอบแตกต่างกันไปหลายแนว และวันนี้เราจะมาทำความเข้าใจ 5 ทฤษฎี คนไทยมาจากไหน? ว่าแต่ละทฤษฎีจะมีความเป็นมาและน่าเชื่อถืออย่างไร ก็ขอให้ผู้ฟังพิจารณาตามกันไป จะมีทฤษฎีอะไรบ้าง ไปฟังกันเลยครับ

ข้อมูลอ้างอิง
สายชล สัตยานุรักษ์. การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ : ประวัติศาสตร์สังคมไทย ฉบับสมบูรณ์. สกว. 2558.
กาญจนี ละอองศรี, พิเศษ เจียรจันทร์พงษ์ “แนวคิดเรื่องถิ่นกำเนิดไทย และการก่อตัวของชุมชน” ในเอกสารการสอน ประวัติศาสตร์ไทย หน่วยที่ 18. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สันต์ ท. โกมนบุตร แปล. จดหมายเหตุลาลูแบร์, ราชอาณาจักรสยาม. กรุงเทพ : ก้าวหน้า. 2510.
และอื่นๆ

ผ่าทฤษฎี “คนไทยมาจากไหน?”

สงครามเวียดนาม​(Vietnam War)​:หรือสงครามอินโดจีน​ครั้ง​ที่​2​จุดจบสงคราม​เมื่อสหรัฐ​อเมริกา​ถอนกำลัง


สงครามเวียดนาม (เวียดนาม: Chiến tranh Việt Nam) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง และในเวียดนามเรียก สงครามต่อต้านอเมริกา (เวียดนาม: Kháng chiến chống Mỹ) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า สงครามอเมริกา เป็นความขัดแย้งในเวียดนาม ลาว และกัมพูชา ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2498จนกรุงไซ่ง่อนถูกยึด เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 เป็นสงครามอินโดจีนครั้งที่สองและเป็นการต่อสู้ระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้อย่างเป็นทางการ เวียดนามเหนือได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต จีน และประเทศพันธมิตรฝ่ายลัทธิคอมมิวนิสต์อื่น เวียดนามใต้ได้รับการสนับสนุนโดยสหรัฐ เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย ไทย และประเทศพันธมิตรฝ่ายต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อื่นบางคนถือสงครามนี้เป็นสงครามตัวแทนในยุคสงครามเย็นซึ่งกินระยะเวลาถึง 19 ปี โดยการมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงของสหรัฐสิ้นสุดลงในปี 2516 และรวมไปถึงสงครามกลางเมืองลาว และสงครามกลางเมืองกัมพูชาซึ่งจบลงด้วยทั้งสามประเทศได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในปี 2518
​สงคราม​เวียดนาม
​สงคราม
สงคราม​เย็น
​สงครามโลก
​สงครามโลก​ครั้ง​ที่​2​

สงครามเวียดนาม​(Vietnam War)​:หรือสงครามอินโดจีน​ครั้ง​ที่​2​จุดจบสงคราม​เมื่อสหรัฐ​อเมริกา​ถอนกำลัง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ก่อนคริสต์ศักราช

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *