อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ : วีระ ธีรภัทร #2 | มหากาพย์รามายณะ มหาภารตะ

อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ : วีระ ธีรภัทร #2


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

การบรรยายสาธารณะ หัวข้อ \”อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ\”
วิทยากรร่วมด้วย : อ.วีระ ธีรภัทร | คุณสุจิตต์ วงษ์เทศ | อ.สมฤทธิ์ ลือชัย | อ.รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล และ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม (ดำเนินรายการ)
ศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2557 เวลา 14.0017.00 น. ณ ห้อง 107 (ริมน้ำ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
จัดโดย วิชา SE210 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยโบราณ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ : วีระ ธีรภัทร #2

คุยได้คุยดี 1ม ค 57(เบรก1) มหากาพย์มหาภารตะ สงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร


คุยได้คุยดี 1ม ค 57(เบรก1) มหากาพย์มหาภารตะ สงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร

ฤๅษีวยาส ผู้แต่งมหาภารตะ


ผู้แต่งมหากาพย์เรื่องนี้มีนามว่า “ฤๅษีกฤษณะ ไทวปายนะ” หรือ “ฤาษีวยาส” ซึ่งก็เกิดร่วมสมัยกับเหตุการณ์เหล่านี้ด้วย มีข้อมูลบ้างแห่งระบุว่า เพราะการแย่งบัลลังก์กันของเหล่าเครือญาติและล้มตายจำนวนนับล้าน ทำให้ท่านฤๅษีเกิดความรันทด จึงต้องการบอกเล่าเรื่องราวของลูกหลานที่ฆ่าฟันกันเอง มีการอัญเชิญ พระคเณศ มาเขียน จนเป็นที่มาของมหาภารตะ และในวันนี้เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับ ฤาษีวยาส ผู้นี้กันครับ

ข้อมูลอ้างอิง
กรุณาเรืองอุไร กุศลาสัย. (2555). ศึกมหาภารตะ. กรุงเทพฯ : สยาม.
ปีเตอร์ บรุค เขียน จักรกฤษณ์ ดวงพัตรา แปล. (2544). บทละครแปล = The Mahabharata : a play based upon the Indian classic epic. กรุงเทพฯ : อมรินทร์.
วีระ ธีรภัทร. (๒๕๕๕) เรื่องเล่าจากมหากาพย์ มหาภารตะ เล่ม ๑ ตอน กำเนิดพี่น้องเการพและปาณฑพ. กรุงเทพฯ : โรนิน.
พระบูรพมหาพฤฒาจารย์พระมหาฤษีวยาสะ (กฤษณะ ไทวปายนะ วยาส) เว็ปไซต์ เข้าถึงได้ที่ http://108mongkol.blogspot.com/2014/06/blogpost.html
และอื่นๆ

ฤๅษีวยาส ผู้แต่งมหาภารตะ

นาค มาจากไหน I ประวัติศาสตร์นอกตำรา Ep.43


เมื่อราว 2,500 ปีมาแล้ว เมื่อชาวชมพูทวีปเดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ยังล้าหลัง
พวกเขาพบว่าชาวพื้นเมืองยังนุ่งห่มเพียงใบไม้หรือผ้าผืนเล็กๆ จึงเป็นที่มาของคำเรียกอย่างดูแคลนว่า “นาค” ซึ่งหมายถึงคนพื้นเมืองที่เปลือยเปล่านั่นเอง
นาค ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อในอุษาคเนย์ได้อย่างไร ติดตามได้ในตอน \”นาค มาจากไหน\”
นาค คำชะโนด ประวัติศาสตร์นอกตำรา

East of Tunesia โดย Kevin MacLeod ได้รับอนุญาตภายใต้ใบอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบระบุแหล่งที่มา 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by/4.0/
แหล่งที่มา: http://incompetech.com/music/royaltyfree/index.html?isrc=USUAN1100246
ศิลปิน: http://incompetech.com/

นาค มาจากไหน I ประวัติศาสตร์นอกตำรา Ep.43

บรรยายสาธารณะ \”อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ\”


บรรยายสาธารณะ หัวข้อ \”อุษาคเนย์ กับมหาภารตะและรามายณะ\”
วิทยากรร : อ.วีระ ธีรภัทร | คุณสุจิตต์ วงษ์เทศ | อ.สมฤทธิ์ ลือชัย | อ.รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล และ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม (ดำเนินรายการ)
ศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2557 เวลา 14.0017.00 น. ณ ห้อง 107 (ริมน้ำ) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
จัดโดย วิชา SE210 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยโบราณ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

บรรยายสาธารณะ \

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *