การคำนวนเวลาโลก | มาตรฐาน เวลา

การคำนวนเวลาโลก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การคำนวนเวลาลง

การคำนวนเวลาโลก

ร้องไห้ตาบวมไปหมดแล้ว [ BOXX MUSIC LONGPLAY ]


\”ตั้งแต่รู้จักกับแก ก็ไม่เคยหยุดร้องไห้ได้เลย \”
LONGPLAY \”ร้องไห้ตาบวมไปหมดแล้ว\”
00:00 ลบไม่ได้ช่วยให้ลืม INK WARUNTORN
03:45 ลืมได้แล้ว OPAVEE
08:08 พูดลาสักคำ THE PARKINSON
11:43 เหนื่อยใจ INK WARUNTORN
16:08 คนคนนึง THE WHITE HAIR CUT
20:14 มาตรฐานสูง MARC TATCHAPON
24:14 เธอบอกว่าฉันไม่ดี COPTER
27:33 วังวน ONEONE
31:58 เจ็บไม่จำ OPAVEE
36:17 คนที่ใช่ไม่ต้องพยายาม BEAN NAPASON
40:27 เธอไม่ใช่ฉัน FAI PATTHAYA
44:34 ต้องทำอย่างไร PORTRAIT
48:47 ดีใจด้วยนะ INK WARUNTORN
53:26 คนที่ไม่ใช่ OPAVEE
57:55 โลกที่ไม่มีเธอ PORTRAIT
1:01:44 ชีวิตเธอดีอยู่แล้ว THE KASTLE
1:05:16 ขอพร GUNN JUNHAVAT
1:09:37 ฉันต้องคิดถึงเธอแบบไหน INK WARUNTORN
1:14:11 เจ็บจนไม่เข้าใจ PORTRAIT
1:18:22 คนในอากาศ NANN
1:22:23 วังวน (Cover by) SERIOUS BACON
ร้องไห้ตาบวมไปหมดแล้ว BoxxMusicLongplay

ร้องไห้ตาบวมไปหมดแล้ว [ BOXX MUSIC LONGPLAY ]

Science Hit : มาตรฐานเวลา


Science Hit : มาตรฐานเวลา

จริงหรือไม่? ร.๔ ทรงสถาปนาเวลามาตรฐานของไทย และคำนวณสุริยุปราคาที่หว้ากอ


พลาดไม่ได้ สำหรับแฟนพันธุ์แท้ของ ร.๔ ค้นพบตรรกะของ ร.๔ ในการคำนวณหาเวลารุ่งอรุณ ย่ำค่ำ, ย่ำรุ่ง และมืดค่ำ พ.ศ. 2525 ดร.ขาว เหมือนวงศ์ ตีพิมพ์หนังสือ \”พระจอมเกล้าพยากรณ์\” โดยเชื่อว่า รัชกาลที่ ๔ ทรงสถาปนาเวลามาตรฐานของไทย พ.ศ. 2401 เป็นเหตุให้หลายฝ่ายเชื่อเช่นนั้น
โดยให้เหตุผลว่า ที่เวลาย่ำรุ่งเร็วกว่าเวลาที่ตนเองคำนวณได้ 2 นาที เกิดจากพระองค์ตั้งมาตรฐานเวลาไว้ที่ลองจิจูด 100E ไม่ใช่ที่ 100.5E อย่างไรก็ตาม แต่มีข้อกังขาว่าทำไมเวลาย่ำค่ำของพระองค์จึงช้ากว่าที่คำนวณได้ 2 นาที หากใช้เส้น 100E จริง ก็ยิ่งทำให้เวลาย่ำค่ำช้าไปอีก 2 นาที ทำให้ช้าไปถึง 4 นาที
เมื่อผมได้ดูเอกสารหลักฐานต้นฉบับชิ้นเดียวกันแล้ว จึงพิสูจน์ว่าในยุคนั้น พระงอค์ไม่ใช้ solar mean time ตามนาฬิกากล จึงไม่ความจำเป็นต้องสร้าง standard time
นอกจากนี้พบว่าพระองค์ใช้เวลาในระบบ solar time หรือนาฬิกาแดด โดยปรับนาฬิกากลให้คลาดเคลื่อนตามนาฬิกาแดด ไม่ใช่ปรับให้ตรงตาม solar mean time โดยใช้นาฬิกาแดด เป็นเครื่องมือ
อย่างไรก็ดี การใช้นาฬิกาแดดมีข้อดีคือ ใช้คำนวณหาเวลาย่ำรุ่ง ย่ำค่ำได้ง่าย เชื่อว่าพระองค์เลือกใช้ระบบนี้ เพราะให้ความสำคัญกับพระวินัย ที่พระภิกษุสงฆ์ต้องออกบิณฑบาตตรงตาม civil draw และผมค้นพบว่าพระองค์ทรงใช้ละติจูด 13 องศา ในการกำหนดเวลาย่ำค่ำ ย่ำรุ่งต่าง ๆ ซึ่งหาได้อย่างถูกต้องตาม solar time ซึ่งสมมุติฐานนี้ตอบคำถามได้ว่า ทำไมเวลาย่ำรุ่งและย่ำค่ำของพระองค์ จึงเร็วและช้ากว่าเวลาที่เกิดขึ้นจริงที่พระนคร อย่างละ 2 นาทีทุกครั้ง

นอกจากนี้ในหนังสือเล่มเดียวกัน ยังเชื่อว่า ได้ทรงพยากรณ์การเกิดสุริยุปราคาที่หว้ากอล่วงหน้าถึง 2 ปี ขณะที่หลักฐานทางดาราศาสตร์และประวัติศาสตร์ ไม่น่าเป็นไปตามที่เชื่อ (ไม่จำเป็นต้องในสิ่งที่ผมบอก แต่อยากให้เชื่อพระองค์ ที่ทรงบอกเองจากลายพระหัตถ์)
แม้ผมให้ความเคารพท่าน อาจารย์ขาวฯ อย่างยิ่ง แต่ในเรื่องวิชาการ ก็ต้องมีจุดยืนทางความคิดของตนเองไม่ลำเอียงตามคนที่ผมเคารพ ลูกผมก็เช่นกัน เขามีความเห็นและจุดยืนของเขา ไม่จำเป็นต่อเหมือนพ่อ และเถียงพ่อได้ด้วยหลักวิชาการ เป็นสิ่งที่ผมภูมิใจที่เขาเป็นตัวของตัวเอง ไม่คล้อยตามไปทุกเรื่อง ซึ่งจะไม่เกิดประโยชน์
เรียนฟรีทุกตอน ผมสอนเอง คณิตศาสตร์ ม.ปลาย ที่ https://www.youtube.com/channel/UCgyCUWhqImdKHlZWA43ql4g

จริงหรือไม่? ร.๔ ทรงสถาปนาเวลามาตรฐานของไทย และคำนวณสุริยุปราคาที่หว้ากอ

ใช้ชีวิตให้ดี เพราะอาจไม่มีพรุ่งนี้ โดย ท่าน ว.วชิรเมธี (พระมหาวุฒิชัย, พระเมธีวชิโรดม) ไร่เชิญตะวัน


ชีวิตนี้อย่าประมาท ทุกเช้าที่ตื่นขึ้นมา สามารถเป็นได้ทั้งวันแรก และวันสุดท้ายที่เหลืออยู่ก็ได้ทั้งนั้น (ท่าน ว.วชิรเมธี)
When we wake up each morning,
the day we find can either be the first or the last of our remaining days.
อย่าประมาท มรณสติ ชีวิตมันสั้น

ใช้ชีวิตให้ดี เพราะอาจไม่มีพรุ่งนี้ โดย ท่าน ว.วชิรเมธี (พระมหาวุฒิชัย, พระเมธีวชิโรดม) ไร่เชิญตะวัน

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *