10 เรื่องจริงของ NASA (นาซ่า) ที่คุณอาจไม่เคยรู้ ~ LUPAS | ดาวเทียม นา ซ่า

10 เรื่องจริงของ NASA (นาซ่า) ที่คุณอาจไม่เคยรู้ ~ LUPAS


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คุณคงรู้จัก NASA (นาซ่า) องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา และในวันนี้ครับ เราจะพาคุณมาพบกับ 10 เรื่องจริงของ NASA (นาซ่า) ที่คุณอาจไม่เคยรู้
10เรื่องจริงNasa นาซ่า
เรื่องจริงอันดับที่ 10 : ที่มาของ NASA (นาซ่า)
เรื่องจริงอันดับที่ 9 : NASA (นาซ่า) Mar 2030
เรื่องจริงอันดับที่ 8 : NASA (นาซ่า) เสนอฟังเพลงอะไร
เรื่องจริงอันดับที่ 7 : NASA (นาซ่า) ส่งข้อความมาหา
เรื่องจริงอันดับที่ 6 : NASA (นาซ่า) เทปที่หายไป
เรื่องจริงอันดับที่ 5 : NASA (นาซ่า) คล้ายๆกัน
เรื่องจริงอันดับที่ 4 : NASA (นาซ่า) ดาวเทียมของเด็กๆ
เรื่องจริงอันดับที่ 3 : NASA (นาซ่า) จ้างมานอน
เรื่องจริงอันดับที่ 2 : NASA (นาซ่า) ต้องใช้เงินเท่าไรถึงไปดาวอังคารได้
เรื่องจริงอันดับที่ 1 : งบประมาณของ NASA (นาซ่า)

10 เรื่องจริงของ NASA (นาซ่า) ที่คุณอาจไม่เคยรู้ ~ LUPAS

ภาพถ่าย NASA เป็นเหตุ : Comment ชาวกัมพูชา


ภาพถ่าย NASA เป็นเหตุ : Comment ชาวกัมพูชา

ทำไมอวกาศถึงแออัด


วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นชิ้นแรกที่ได้โคจรรอบโลกคือ สปุตนิก วัน ซึ่งถูกส่งขึ้นไปในวันที่ 4 ตุลาคม ปี 1957 หลายทศวรรษผ่านไป พวกเราได้ปล่อยดาวเทียมเพิ่มขึ้นอีกหลายพันดวง โลกสมัยใหม่คงจะล่มสลายแน่ๆ หากไม่มีพวกมัน แต่ปัจจุบันมันมีเยอะมาก จนเราอาจจะไม่มีพื้นที่ว่างในอวกาศแล้วจริงๆ ก็ได้
กลายเป็นว่ามีสถานที่มากมาย ที่คุณสามารถเอาดาวเทียมไปปล่อย และทำให้มันอยู่ในที่ที่คุณต้องการไปเรื่อยๆ หากดาวเทียมอยู่ต่ำเกินไป มันจะตกลงมาจากท้องฟ้า แต่หากสูงเกินไป มันก็จะค่อยๆ หลุดไปในอวกาศ และด้วยดาวเทียมมากมายในวงโคจร การป้องกันไม่ให้พวกมันชนกัน เป็นงานที่จะต้องทำตลอดเวลา และเป็นหน้าที่ที่ทำยากขึ้นในทุกๆ ปี
TIMESTAMPS:
ดาวเทียมสามารถหลุดออกจากวงโคจรได้อย่างสิ้นเชิงหรือไม่? 1:25
ดาวเทียมชนกันเหนือไซบีเรีย 💥 1:52
ดาวเทียมที่พังหรือถูกทิ้ง 2:41
ปรากฏการณ์ที่เลวร้ายที่สุด 👈 3:44
จะเกิดอะไรขึ้นหากดาวเทียมที่เรามีทั้งหมดพัง? 5:02
วิธีการกำจัดดาวเทียม 6:37
เลเซอร์บรูม 7:24
อวกาศ ดาวเทียม ชีวิตสดใส
เครดิตภาพพรีวิว:
A Beehive of Satellites: By European Space Agency, https://www.nasa.gov/multimedia/imagegallery/image_feature_1283.html
อนิเมชั่นโดยชีวิตสดใส
สรุป:
ดาวเทียมระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก หรือ GPS และดาวเทียมอื่นๆ ที่ต้องโคจรอยู่บนพื้นที่เจาะจงของพื้นผิวโลก และจะต้องส่งไปอยู่ในความสูงที่กำหนด
ยิ่งดาวเทียมอยู่ไกลจากวงโคจรคงที่เท่าไร ก็ยิ่งต้องใช้ความพยายามในการทำให้มันอยู่ตรงนั้นมากขึ้น
ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ดาวเทียมรัสเซียที่ถูกทอดทิ้งนี้ มีชื่อว่า คอสมอส 2251 ชนเข้ากับด้านข้างของดาวเทียมอเมริกาอย่างแรง ในขณะที่พวกมันกำลังผ่านทางเหนือของไซบีเรีย โดยยานอวกาศทั้งคู่แตกออกเป็นเสี่ยงๆ และทำให้กลุ่มเศษขยะต่างๆ พุ่งไปในอวกาศด้วยความเร็วอันเหลือเชื่อ
ดาวเทียมที่พังหรือโดนทิ้งร้างเช่น คอสมอส 2251 เป็นอันตรายอย่างมาก ต่อดาวเทียมที่ยังใช้การอยู่
ขยะอวกาศชิ้นเล็กๆ ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 เซนติเมตร ก็เพียงพอที่จะฉีกดาวเทียมส่วนใหญ่ได้แล้ว
เดือนพฤษภาคมปี 2019 มีวัตถุที่มีขนาดเท่าที่กล่าวไป หรือใหญ่กว่าประมาณ 23,000 ชิ้น
ในกรณีที่เลวร้ายที่สุดคือ สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เรียกว่าปฏิกิริยาเคสส์เลอร์ คิดขึ้นมาในปี 1987 โดย โดนัลด์ เจ เคสส์เลอร์ นักวิทยาศาสตร์ของนาซ่า ซึ่งนี่เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ที่เกิดขึ้นในอวกาศ
บทหนังหรือนิยายชอบนำเสนอปฏิกิริยาเคสส์เลอร์ ในเชิงที่เกือบเหมือนวันโลกาวินาศ
ในตอนนี้ มีวัตถุบางอย่างที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์กังวล หนึ่งตัวอย่างที่น่าพูดถึงคือ ดาวเทียมเอนวิแซทขนาดยักษ์ที่ถูกทอดทิ้ง ขององค์การอวกาศยุโรป
อันตรายจากการชนกันของดาวเทียมนั้นเป็นเรื่องจริง และสถานการณ์ก็แย่ลงเรื่อยๆ ตราบใดที่พวกเราส่งวัตถุขึ้นไปบนวงโคจรอยู่ตลอดเวลาแบบนี้
ดาวเทียมสมัยใหม่นั้น โดยปกติแล้วจะไม่ได้รับอนุญาตให้ส่งขึ้นไป จนกว่าจะมีแผนรองรับในการกำจัดมัน
บางครั้งมันจะถูกบังคับให้ออกไปไกลในอวกาศ เพื่อลดความเสี่ยงที่มันจะตกลงมายังโลก หรือชนกับดาวเทียมดวงอื่น
อีกตัวเลือกหนึ่งคือ การลดระดับดาวเทียม ทำให้มันถูกดึงลงมาโดยแรงโน้มถ่วงของโลก
อีกหนึ่งข้อเสนอของการแก้ปัญหา คือการวางตำแหน่งดาวเทียมที่ไม่ต้องการ ไว้ในที่ที่มันจะโดนดึงออกจากวงโคจร โดยดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์

กดติดตามช่องชีวิตสดใส http://bit.do/brightside_thai

เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru

ทำไมอวกาศถึงแออัด

นาซาย้ายดาวเทียมหนีชนดาวบริวารดาวอังคาร


นาซาส่งคำสั่งขยับเคลื่อนดาวเทียมสำรวจดาวอังคาร “มาเวน” ออกจากเส้นทางโคจรปกติ เพื่อเลี่ยงการปะทะดาวบริวารของดาวอังคาร
TNN24 ออกอากาศทางทีวีช่อง 16
ชมสดได้ที่ http://www.tnnthailand.com/player.php
English Program \”TNN Thailand News\”
With Varin Sachdev \u0026 Tin Chokamolkit
22.00 22.15 MonFri
เกาะติดข่าวเด่นประจำวันได้ที่
http://www.tnnthailand.com
http://www.fb.com/TNN24
http://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnnthailand/
สถานีข่าวโทรทัศน์ TNN24 เป็นสถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น ทันทุกความจริง รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

นาซาย้ายดาวเทียมหนีชนดาวบริวารดาวอังคาร

วินาที!!ปล่อย\”ยาน\”สู่อวกาศ


วินาทีที่ยาน Space shuttle ได้ทะยานขึ้นสู้อวกาศ
For education purpose
Special Thanks to NASA

วินาที!!ปล่อย\

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *