[Update] แนะนำ 3 สถาบัน(อเมริกา) เรียนต่อดาราศาสตร์ ดีและดังระดับโลก! | สถาบัน ดาราศาสตร์ – Australia.xemloibaihat

สถาบัน ดาราศาสตร์: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

   

    สวัสดีค่ะน้องๆ ชาว

Dek-D.com

… ประเด็นเด่นในช่วงวันสองวันนี้คงไม่พ้นเรื่องยานนิวฮอไรซอนส์ของ NASA  ได้เดินทางเข้าใกล้ดาวพลูโตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เป็นครั้งแรกที่มนุษยชาติได้ยลโฉมดาวพลูโตอย่างชัดๆ^^ มีน้องๆ ถามมาว่า ถ้าสนใจอยากเรียนดาราศาสตร์ ควรไปเรียนที่ไหนดี? วันนี้

พี่เป้

มีคำตอบมาฝากแล้ว

      
         หากดูการจัดอันดับโลก ประเทศที่มีการศึกษาในด้านดาราศาสตร์ที่เด่นที่สุดต้องยกให้อเมริกาเลยค่ะ ก็แหม NASA ก็อยู่นั่นนี่เนาะ ดังนั้นสถาบันต่างๆ ในอเมริกาก็มาคว้า TOP20 ด้านดาราศาสตร์ที่ดีที่สุดในโลกกันไปเลยค่ะ วันนี้เลยนำ 3 แห่งที่น่าสนใจมาฝากกัน

Department of Astronomy, Harvard University

        หลายคนคงคุ้นชื่อฮาร์วาร์ดเป็นอย่างดี เพราะแทบทุกสาขาการเรียนที่นี่ก็ติดอันดับโลกทั้งนั้น สำหรับคนที่จะเข้าเรียนปริญญาโทด้านดาราศาสตร์ หลักสูตรของที่ฮาร์วาร์ดจะเน้นการเรียนรู้และการทำงานเพื่อปูพื้นฐานก่อนต่อไปยังปริญญาเอก คือบังคับเลยว่าต้องเป็นปริญญาโทและเอก ไม่รับคนที่จะเรียนแค่ปริญญาโทเท่านั้น โดยมีสถาบันอื่นๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวก เช่น หอสังเกตการณ์ฮาร์วาร์ด , ศูนย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ฮาร์วาร์ดสมิทโซเนียน  สำหรับคนที่จะเข้าเรียนระดับปริญญาโท ต้องมีพื้นฐานด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ในระดับที่ดีมาก รวมถึงในหลักสูตรปริญญาตรีที่เรียนจบมา ควรต้องมีวิชาพวกนี้รวมอยู่ด้วย

– กลศาสตร์

– ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

– ฟิสิกส์เชิงสถิติ

– กลศาสตร์ ควอนตัม

– คณิตศาสตร์ทั่วไป

        อย่างไรก็ตาม หากใครไม่มีพื้นฐานในด้านดังกล่าว ทางมหาวิทยาลัยก็ยินดีรับสมัคร แต่จะมีการประเมินความรู้เบื้องต้นโดยเป็นความรู้จากหนังสือสองเล่มนี้ The Physical Universe, by F. H. Shu และ An Introduction to Astrophysics by B. W. Carroll & D. A. Ostlie ก็ต้องไปอ่านเจาะลึกเพื่อเตรียมตัวกันก่อนค่ะ

       
       ไม่ใช่แค่ปริญญาโท แต่มีวิชาที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีด้วย เช่น  ดาวเคราะห์นอกระบบ ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์  การวิเคราะห์เสียงและข้อมูลทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์  วิธีการทางการสังเกตทางดาราศาสตร์  และที่สำคัญ ถึงแม้จะเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี แต่นักศึกษาของฮาร์วาร์ดก็มีโอกาสเข้าไปฝึกงานหรือร่วมวิจัยกับสำนักงานใหญ่ๆ เช่น  NASA(นาซ่า) NSF Research(มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ)

Astronomy Department, University of California, Berkeley

        เรียกสั้นๆ ว่า UC Berkeley เป็นอีกมหาวิทยาลัยที่ดังระดับโลก ที่นี่มีหอสังเกตการณ์ให้นักศึกษาใช้หลายแห่ง รวมถึงมีห้องแล็บทดลองทางดาราศาสตร์ที่ว่ากันว่าทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งของโลกอยู่ด้วย

        ในระดับปริญญาตรี วิชาบังคับที่ต้องเรียน เช่น ดาราศาสตร์ทั่วไปเบื้องต้น ฟิสิกส์ดาราศาสตร์เบื้องต้น การศึกษาจักรวาลวิทยาในสมัยใหม่ ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นแสงสว่าง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวิชาเลือกที่น่าสนใจให้เลือกเรียนมากมาย เช่น ธรณีพลศาสตร์ ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น แนวคิกทางสถิติ ทฤษฎีความน่าจะเป็น เป็นต้น สำหรับเกรดเฉลียหรือ GPA ตอนจบมัธยมปลายของคนที่เข้าเรียนที่นี่ได้ เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 3.9!! ส่วนคะแนน SAT ควรได้มากกว่า 2,000 คะแนน (เต็ม 2,400 คะแนน) เรียกว่าคัดหัวกะทิเน้นๆ เลยทีเดียว

        สำหรับระดับปริญญาโท ที่นี่ก็เช่นเดียวกับฮาร์วาร์ดคือ จะรับเฉพาะคนที่เรียนปริญญาโทและต่อไปยังปริญญาเอกเท่านั้น วิชาที่ต้องเรียน เช่น เทคนิคทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ กระบวนการการแผ่รังสีทางดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์เชิงคอมพิวเตอร์ มวลสารระหว่างดวงดาว เป็นต้น

         การสอบเข้าเรียนปริญญาโท จะมีการสอบปากเปล่าโดยคณาจารย์ 3 ท่าน โดยผู้เข้าสอบจะต้องสามารถพูดคุยในประเด็นทางดาราศาสตร์ได้อย่างคล่องแคล่ว มีความรู้ และถูกต้อง สำหรับคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL(iBT)ที่ต้องยื่นในการสมัครเข้าปริญญาโท ทางคณะกำหนดไว้ที่ 68 คะแนนเท่านั้น ถือว่าระดับกลางๆ ไม่สูงเท่าไรค่ะ

Department of Astronomy, Columbia University

       
       ในระดับปริญญาตรี มีสองสาขาวิชาเอกให้เลือก คือ ดาราศาสตร์ และ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แต่โดยรวมแล้วจะได้เรียนวิชาหลักที่คล้ายกันมาก เช่น โลก ดวงจันทร์ และอวกาศ, ดวงจันทร์ ทางช้างเผือก และจักรวาลวิทยา, ทฤษฎีจักรวาล, สิ่งมีชีวิตในจักรวาล, การทดลองทางดาราศาสตร์, ฟิสิกส์ดาราศาสตร์พลังงานสูง

         ส่วนในระดับปริญญาโทนั้น ใช้เวลาศึกษา 3 ปี วิชาหลักที่ต้องเรียนมี 5 วิชา เช่น กระบวนการการแผ่รังสี จักรวาลวิทยาทางฟิสิกส์ วิวัฒนาการและโครงสร้างของดาว นอกนั้นก็มีให้เลือกว่าจะวิจัยไปทางด้านดาราศาสตร์หรือฟิสิกส์ดาราศาสตร์ 

         สำหรับการรับเข้าเรียน ได้กำหนดคะแนน TOEFL(iBT)ไว้สูงทีเดียว คืออยู่ที่ 100 คะแนนทั้งระดับปริญญาตรีและโท

       

        หอสังเกตการณ์หลักของที่นี่คือ Columbia Astrophysics Laboratory (CAL) นอกจากนั้นยังเป็นพันธมิตรร่วมกับสถาบันดังๆ อีกมากมาย เช่น สถาบันการศึกษาอวกาศก็อดดาร์ดของนาซ่า ห้องปฏิบัติการแห่งชาติบรูคฮาเวน

     
      

  เส้นทางที่ดูน่าจะเหมาะสมที่สุดสำหรับน้องๆ ที่อยากไปต่อปริญญาโทและเอกด้านดาราศาสตร์ที่ต่างประเทศ ควรจบปริญญาตรีด้านฟิสิกส์หรือธรณีวิทยาและลงเรียนวิชาทางดาราศาสตร์เยอะๆ (ในบ้านเรายังไม่ค่อยมีวิชาเอกด้านดาราศาสตร์โดยตรง) และอย่าลืมหาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางดาราศาสตร์อย่างสม่ำเสมอด้วยนะคะ

[Update] แนะนำ 3 สถาบัน(อเมริกา) เรียนต่อดาราศาสตร์ ดีและดังระดับโลก! | สถาบัน ดาราศาสตร์ – Australia.xemloibaihat

   

    สวัสดีค่ะน้องๆ ชาว

Dek-D.com

… ประเด็นเด่นในช่วงวันสองวันนี้คงไม่พ้นเรื่องยานนิวฮอไรซอนส์ของ NASA  ได้เดินทางเข้าใกล้ดาวพลูโตเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เป็นครั้งแรกที่มนุษยชาติได้ยลโฉมดาวพลูโตอย่างชัดๆ^^ มีน้องๆ ถามมาว่า ถ้าสนใจอยากเรียนดาราศาสตร์ ควรไปเรียนที่ไหนดี? วันนี้

พี่เป้

มีคำตอบมาฝากแล้ว

      
         หากดูการจัดอันดับโลก ประเทศที่มีการศึกษาในด้านดาราศาสตร์ที่เด่นที่สุดต้องยกให้อเมริกาเลยค่ะ ก็แหม NASA ก็อยู่นั่นนี่เนาะ ดังนั้นสถาบันต่างๆ ในอเมริกาก็มาคว้า TOP20 ด้านดาราศาสตร์ที่ดีที่สุดในโลกกันไปเลยค่ะ วันนี้เลยนำ 3 แห่งที่น่าสนใจมาฝากกัน

Department of Astronomy, Harvard University

        หลายคนคงคุ้นชื่อฮาร์วาร์ดเป็นอย่างดี เพราะแทบทุกสาขาการเรียนที่นี่ก็ติดอันดับโลกทั้งนั้น สำหรับคนที่จะเข้าเรียนปริญญาโทด้านดาราศาสตร์ หลักสูตรของที่ฮาร์วาร์ดจะเน้นการเรียนรู้และการทำงานเพื่อปูพื้นฐานก่อนต่อไปยังปริญญาเอก คือบังคับเลยว่าต้องเป็นปริญญาโทและเอก ไม่รับคนที่จะเรียนแค่ปริญญาโทเท่านั้น โดยมีสถาบันอื่นๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวก เช่น หอสังเกตการณ์ฮาร์วาร์ด , ศูนย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ฮาร์วาร์ดสมิทโซเนียน  สำหรับคนที่จะเข้าเรียนระดับปริญญาโท ต้องมีพื้นฐานด้านฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ในระดับที่ดีมาก รวมถึงในหลักสูตรปริญญาตรีที่เรียนจบมา ควรต้องมีวิชาพวกนี้รวมอยู่ด้วย

– กลศาสตร์

– ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

– ฟิสิกส์เชิงสถิติ

– กลศาสตร์ ควอนตัม

– คณิตศาสตร์ทั่วไป

        อย่างไรก็ตาม หากใครไม่มีพื้นฐานในด้านดังกล่าว ทางมหาวิทยาลัยก็ยินดีรับสมัคร แต่จะมีการประเมินความรู้เบื้องต้นโดยเป็นความรู้จากหนังสือสองเล่มนี้ The Physical Universe, by F. H. Shu และ An Introduction to Astrophysics by B. W. Carroll & D. A. Ostlie ก็ต้องไปอ่านเจาะลึกเพื่อเตรียมตัวกันก่อนค่ะ

       
       ไม่ใช่แค่ปริญญาโท แต่มีวิชาที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีด้วย เช่น  ดาวเคราะห์นอกระบบ ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์  การวิเคราะห์เสียงและข้อมูลทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์  วิธีการทางการสังเกตทางดาราศาสตร์  และที่สำคัญ ถึงแม้จะเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี แต่นักศึกษาของฮาร์วาร์ดก็มีโอกาสเข้าไปฝึกงานหรือร่วมวิจัยกับสำนักงานใหญ่ๆ เช่น  NASA(นาซ่า) NSF Research(มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ)

Astronomy Department, University of California, Berkeley

        เรียกสั้นๆ ว่า UC Berkeley เป็นอีกมหาวิทยาลัยที่ดังระดับโลก ที่นี่มีหอสังเกตการณ์ให้นักศึกษาใช้หลายแห่ง รวมถึงมีห้องแล็บทดลองทางดาราศาสตร์ที่ว่ากันว่าทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งของโลกอยู่ด้วย

        ในระดับปริญญาตรี วิชาบังคับที่ต้องเรียน เช่น ดาราศาสตร์ทั่วไปเบื้องต้น ฟิสิกส์ดาราศาสตร์เบื้องต้น การศึกษาจักรวาลวิทยาในสมัยใหม่ ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นแสงสว่าง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวิชาเลือกที่น่าสนใจให้เลือกเรียนมากมาย เช่น ธรณีพลศาสตร์ ประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น แนวคิกทางสถิติ ทฤษฎีความน่าจะเป็น เป็นต้น สำหรับเกรดเฉลียหรือ GPA ตอนจบมัธยมปลายของคนที่เข้าเรียนที่นี่ได้ เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 3.9!! ส่วนคะแนน SAT ควรได้มากกว่า 2,000 คะแนน (เต็ม 2,400 คะแนน) เรียกว่าคัดหัวกะทิเน้นๆ เลยทีเดียว

        สำหรับระดับปริญญาโท ที่นี่ก็เช่นเดียวกับฮาร์วาร์ดคือ จะรับเฉพาะคนที่เรียนปริญญาโทและต่อไปยังปริญญาเอกเท่านั้น วิชาที่ต้องเรียน เช่น เทคนิคทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ กระบวนการการแผ่รังสีทางดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์เชิงคอมพิวเตอร์ มวลสารระหว่างดวงดาว เป็นต้น

         การสอบเข้าเรียนปริญญาโท จะมีการสอบปากเปล่าโดยคณาจารย์ 3 ท่าน โดยผู้เข้าสอบจะต้องสามารถพูดคุยในประเด็นทางดาราศาสตร์ได้อย่างคล่องแคล่ว มีความรู้ และถูกต้อง สำหรับคะแนนภาษาอังกฤษ TOEFL(iBT)ที่ต้องยื่นในการสมัครเข้าปริญญาโท ทางคณะกำหนดไว้ที่ 68 คะแนนเท่านั้น ถือว่าระดับกลางๆ ไม่สูงเท่าไรค่ะ

Department of Astronomy, Columbia University

       
       ในระดับปริญญาตรี มีสองสาขาวิชาเอกให้เลือก คือ ดาราศาสตร์ และ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แต่โดยรวมแล้วจะได้เรียนวิชาหลักที่คล้ายกันมาก เช่น โลก ดวงจันทร์ และอวกาศ, ดวงจันทร์ ทางช้างเผือก และจักรวาลวิทยา, ทฤษฎีจักรวาล, สิ่งมีชีวิตในจักรวาล, การทดลองทางดาราศาสตร์, ฟิสิกส์ดาราศาสตร์พลังงานสูง

         ส่วนในระดับปริญญาโทนั้น ใช้เวลาศึกษา 3 ปี วิชาหลักที่ต้องเรียนมี 5 วิชา เช่น กระบวนการการแผ่รังสี จักรวาลวิทยาทางฟิสิกส์ วิวัฒนาการและโครงสร้างของดาว นอกนั้นก็มีให้เลือกว่าจะวิจัยไปทางด้านดาราศาสตร์หรือฟิสิกส์ดาราศาสตร์ 

         สำหรับการรับเข้าเรียน ได้กำหนดคะแนน TOEFL(iBT)ไว้สูงทีเดียว คืออยู่ที่ 100 คะแนนทั้งระดับปริญญาตรีและโท

       

        หอสังเกตการณ์หลักของที่นี่คือ Columbia Astrophysics Laboratory (CAL) นอกจากนั้นยังเป็นพันธมิตรร่วมกับสถาบันดังๆ อีกมากมาย เช่น สถาบันการศึกษาอวกาศก็อดดาร์ดของนาซ่า ห้องปฏิบัติการแห่งชาติบรูคฮาเวน

     
      

  เส้นทางที่ดูน่าจะเหมาะสมที่สุดสำหรับน้องๆ ที่อยากไปต่อปริญญาโทและเอกด้านดาราศาสตร์ที่ต่างประเทศ ควรจบปริญญาตรีด้านฟิสิกส์หรือธรณีวิทยาและลงเรียนวิชาทางดาราศาสตร์เยอะๆ (ในบ้านเรายังไม่ค่อยมีวิชาเอกด้านดาราศาสตร์โดยตรง) และอย่าลืมหาโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางดาราศาสตร์อย่างสม่ำเสมอด้วยนะคะ


แนะนำ \”สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)


สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีพันธกิจในการกระจายความรู้ทางดาราศาสตร์ให้กับประชาชนไทยทุกระดับ นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์และประชาชนผูสนใจทั่วไป ผ่านหอดูดาวแห่งชาติและเครือข่ายดาราศาสตร์ทั่วประเทศ
นอกจากนั้นยังมีพันธกิจในงานวิจัยทางดาราศาสตร์ การพัฒนานวัตกรรม การผลิต การซ่อมบำรุงอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์
รวมทั้งประสานความร่วมมือกับนานาชาติทางด้านดาราศาสตร์ ผ่านการถ่ายทอดความรู้ บุคลากรและงานวิจัยขั้นสูงอีกด้วย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

แนะนำ \

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ


National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization).

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

สถาบันดาราศาสตร์ ร่วมกับ ไปรษณีย์ไทย นำภาพ “Super Full Moon เหนือพระที่นั่งดุสิตฯ” ผลิตเป็นโปสการ์ด


สถาบันดาราศาสตร์ ร่วมกับ ไปรษณีย์ไทย นำภาพ “Super Full Moon เหนือพระที่นั่งดุสิตฯ” ผลิตเป็นโปสการ์ดพร้อมส่งในชุด “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์”
ช่วงเช้าวันนี้ (5 ม.ค. 60) ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เปิดเผยว่า สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด จัดทำไปรษณียบัตรภาพพร้อมส่ง (Prepaid Postcard) ชุด “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” นำภาพ “ดวงจันทร์เต็มดวงเหนือพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท” บันทึกไว้ในปีประวัติศาสตร์แห่งความอาลัยของคนไทยทั้งชาติ ร่วมเป็นหนึ่งใน 5 ภาพถ่ายดาราศาสตร์สุดพิเศษที่ควรค่าแก่การสะสม พร้อมเปิดตัว 7 ม.ค. นี้

สำหรับ “ภาพดวงจันทร์เต็มดวงเหนือพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท” ได้เกิดขึ้นในคืนวันลอยกระทง 14 พฤศจิกายน 2559 บันทึกไว้ในปีแห่งความอาลัยของคนไทยทั้งแผ่นดิน เป็นคืนดวงจันทร์เต็มดวงปรากฏในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในรอบ 68 ปี (356,511 กม.) หรือเรียกกันว่า Super Full Moon หนึ่งในคอลเล็กชั่นต้อนรับปีใหม่ ในชุดไปรษณียบัตรภาพพร้อมส่ง (Prepaid Postcard) “มหัศจรรย์ภาพถ่ายดาราศาสตร์” ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) จัดทำโดยไปรษณีย์ไทย 1 ชุด มี 5 แบบ พร้อมพิมพ์แสตมป์ภาพเดียวกัน ส่งได้เลยทั่วประเทศไม่ต้องผนึกแสตมป์เพิ่ม ราคาชุดละ 90 บาท จำหน่ายวันแรก 7 ม.ค. 60 สนใจติดต่อสอบถาม สดร. โทร. 0818854353 สั่งซื้อได้ทาง Line ID : NARITThailand หรือ Inbox www.facebook.com/NARITpage
สำหรับเพลงที่ใช้ ชื่อ Dhaka โดย Kevin MacLeod ได้รับอนุญาตภายใต้ ใบอนุญาต Creative Commons Attribution (https://creativecommons.org/licenses/by/4.0/)
ที่มา: http://incompetech.com/music/royaltyfree/index.html?isrc=USUAN1400003
ศิลปิน: http://incompetech.com/

สถาบันดาราศาสตร์ ร่วมกับ ไปรษณีย์ไทย นำภาพ “Super Full Moon เหนือพระที่นั่งดุสิตฯ” ผลิตเป็นโปสการ์ด

NARIT – สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)


NARIT - สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

องค์ประกอบของแกนโลก และโครงสร้างภายในโลก


💙โปรดใช้วิจารณญาณในการรับชม
ข้อมูลผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ
🚀แชแนลเราเป็นแชเนลที่ทำมาเพื่อให้ผู้ชม
ได้รับฟังและรับชมสาระบันเทิงความรู้
🔥ทางเราจะผลิตคลิปสาระดีๆ มาให้ผู้ชมได้ติดตามเรื่อยๆเลยครับ
อย่าลืมกด like กด subscribe เพื่อเป็นกำลังใจด้วยนะครับ
ขอบคุณที่รับชมและรับฟังมากๆครับ
👌อย่าลืมกดถูกใจเพจด้วยน้า จะได้รับข่าวสารใหม่ๆได้ทันใจ
เข้ามาพูดคุยกันได้นะครับ Facebook : https://goo.gl/LA2hbP
👉ถ้าเห็นว่าคลิปนี้มีประโยชน์และน่าสนใจก็อย่าลืม
กด Share กันด้วยนะครับ
ขอขอบคุณข้อมูล
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
CoursewareMaster. วิชาโลกดาราศาสตร์อวกาศ โครงสร้างภายในโลก. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562
ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA). กำเนิดโลก. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562
ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (LESA). การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบเคมี. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562
ทรูปลูกปัญญา. บทเรียนออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562
วิชาการธรณีไทย. โครงสร้างภายในโลก (เปลือกโลกแมนเทิลแกนโลก). สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562
NATIONAL GEOGRAPHIC. mantle. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2562

องค์ประกอบของแกนโลก และโครงสร้างภายในโลก

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สถาบัน ดาราศาสตร์

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *